นิทานอีสป รวมนิทานอีสปพร้อมภาพประกอบ ข้อคิดสอนใจ

นิทานอีสป นิทานอีสปทั้งหมด นิทานพร้อมภาพสวยๆ นิทานอีสปและคติสอนใจ อ่านนิทานอีสปพร้อมรูปภาพประกอบ
นิทานอีสปที่คัดแต่เรื่องดีๆ อ่านแล้วสนุกและให้สาระคติสอนใจได้เป็นอย่างดี รวบรวมไว้ที่นี่ให้คุณได้อ่านกันแบบจุใจ

นิทานอีสป : นิทานอีสป พร้อมคติสอนใจรวมนิทานอีสปพร้อมภาพประกอบ  ข้อคิดสอนใจ

นิทานอีสป : กบกับหนู

นิทานอีสป เรื่อง กบกับหนู
ผู้แต่ง : อีสป
 

นิทานอีสปภาษาอังกฤษ , นิทานอีสป , อีสป , นิทานสอนใจ , นิทานอีสปสอนใจ , นิทาน , aesop fables , aesop , พุทธภาษิต , นิทานสั้น , นิทานสั้นพร้อมข้อคิด , นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า , พุทธพจน์ , นิทานพื้นบ้าน , นิทานเด็ก , นิทานสอนเด็ก , นิทานการ์ตูน , การ์ตูน , การ์ตูนธรรมะ , การ์ตูนสี่สี , นิทานสี่สี , สัตว์น่ารัก , นิทานสัตว์ , การ์ตูนสัตว์ , การ์ตูนไทย , ธรรมะ , ธรรมะออนไลน์ , พุทธประวัติ , การ์ตูนเด็กดี , ศาสนาพุทธ , พระพุทธศาสนา , สื่อธรรมะ , ธรรมกาย , วัดพระธรรมกาย , สื่อสีขาว , Tale , cartoon , กัลยาณมิตร , นิทานธรรมะออนไลน์ , การ์ตูนเด็ก , ภาพการ์ตูนสวย , การ์ตูนคุณธรรม , รักการอ่าน , บันทึกรักการอ่าน , อีสป , นิทานอีสป รวมนิทานอีสปพร้อมภาพประกอบ ข้อคิดสอนใจ , fairy tale , อีสป , อีสบ, นิทานอีสป เรื่อง กบกับหนู


       หนูตัวหนึ่งออกเดินทางท่องเที่ยวจนมาถึงลำธาร เพื่อหาอาหาร มันเห็นว่าอีกฝั่งของลำธารมีอาหารอุดมสมบูรณ์ จึงคิดจะข้ามฝั่งไป มันเดินไปหากบที่อยู่แถวนั้น แล้วบอกให้พามันว่ายน้ำข้ามไป แต่กบปฏิเสธ "ข้าก็ตัวพอๆกับท่าน แล้วข้าจะพาท่านข้ามไปได้อย่างไร" หนูไม่ยอมและยืนยืนที่จะไปให้ได้ ด้วยความรำคาญกบจึงยอมโดยให้หนูเอาเท้าผูกติดกับเท้าของมันแล้วว่ายน้ำพาไป เมื่อมาถึงกลางลำธารกบว่ายน้ำต่อไปไม่ไหวจึงหยุด และก่อนที่ทั้งสองจะจมน้ำไปด้วยกัน ก็มีนกเหยี่ยวตัวหนึ่งบินผ่านมาเห็นเข้า จึงบินโฉบลงมาคาบทั้งสองไปกินพร้อมๆ กัน

 

:: นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ::

       ความดื้อรั้นและการไม่คำนึงถึงความสามารถหรือข้อจำกัดของตนเอง รวมถึงการยอมทำตามความต้องการของผู้อื่นโดยไม่พิจารณาผลกระทบ อาจนำไปสู่ความเดือดร้อนและอันตรายทั้งต่อตนเองและผู้อื่น

 

หลักธรรมในพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้อง:

  • โยนิโสมนสิการ (การคิดอย่างแยบคาย): สอนให้พิจารณาเหตุและผลก่อนตัดสินใจทำสิ่งใด เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาและผลเสียที่อาจเกิดขึ้น.
  • สัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ): การเข้าใจในสิ่งที่เหมาะสม และตระหนักถึงความเป็นจริงของสถานการณ์.
  • อัตตานัง อุปมัง กเร (เอาตนเองเป็นที่ตั้ง): สอนให้พิจารณาว่า การกระทำของตนมีผลต่อผู้อื่นอย่างไร และหลีกเลี่ยงการสร้างความเดือดร้อนให้แก่ผู้อื่น

 

บทความนี้ ถูกใจคุณหรือไม่ + -

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร

* * นิทานอีสป แนะนำ * *

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล