กวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

กวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์

กวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์
กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

ภาพ  ป๋องแป๋ง
ลงสี  ปูเป้

 

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

นิทานชาดก เรื่องกวางกุรุงคะกับพรานเจ้าเล่ห์ กุรุงคมิคชาดก ว่าด้วยการรู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมคน

จบ

    
ที่มา : หนังสือนิทานชาดก โดย พระภาวนาวิริยคุณ  

 


กุรุงคมิคชาดก


:: สาเหตุที่ตรัสชาดก :: 


.....พระญาติของพระองค์ท่านหนึ่งคือ พระเทวทัต ถึงแม้จะบวชแล้ว ก็ยังมากด้วยความอิจฉาริษยา เช่น ยุยงให้คณะสงฆ์แตกแยก จัางนายขมังธนูให้มาลอบยิงพระพุทธองค์ ปล่อยช้างธนบาลที่ตกมัน และถูกมอมเหล้าจนคลุ้มคลั่งให้เข้าทำร้าย จนท้ายที่สุดลงมือ ลอบปลงพระชนม์ด้วยตนเอง โดยกลิ้งหินบนภูเขาให้ตกลงมาทับพระผู้มีพระภาคเจ้า แต่ไม่ว่าจะใช้วิธีใด ๆ ก็ไม่อาจปลงพระชนม์พระบรมศาสดาได้

..... เรื่องที่พระเทวทัตลอบทำร้ายเป็นที่รู้กันทั่วเมือง ประชาชนพากันสาปแช่ง แต่ไม่รู้จะทำอย่างไรจึงได้แต่นั่งสนทนาปรับทุกข์กัน

..... พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทราบเรื่องนี้ จึงทรงระลึกชาติหนหลังแล้วตรัสว่า "ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย พระเทวทัตไม่ได้คิดจองล้างจองผลาญเรา แต่เฉพาะชาตินี้หรอกนะ แรงพยาบาทของเทวทัตที่มีต่อเรานั้น มีมาในอดีต หลายภพหลายชาติแล้ว" แล้วจึงตรัสเล่า กุรุงคมิคชาดก

 


:: ข้อคิดจากชาดก :: 

 

.....๑. จงอย่าเป็นคนเห็นแก่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเห็นสิ่งใดที่รู้สึกว่าเป็นลาภลอยได้มาง่าย ๆ อย่าไปฉวยเอาเพราะจะถูกล่อลวงด้วยลูกไม้ต่าง ๆ โดยง่าย

.....๒. หมั่นสั่งสมบุญมาก ๆ ถ้ามากเต็มที่จริง ๆ แล้ว ใครก็ทำอันตรายไม่ได้ ใส่ความไม่ได้ บุญของเราที่มีอยู่จะตามเตือนสติไม่ให้หลงลูกไม้ใคร จนเกิดโลภ โกรธ หลง เห็นแก่ได้ เห็นแก่เกียรติยศ

.....๓. จากชาดกเรื่องนี้จึงทำให้รู้ว่า คำว่า "ลูกไม้" ได้กลายมาเป็นสำนวนไทย
หมายถึง เล่ห์เหลี่ยม ชั้นเชิง

บทความนี้ ถูกใจคุณหรือไม่ + -

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล