ชื่อหนังสือ พระแท้
ขุนทรัพย์ทางปัญญาจากพระสูตร พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว)
"ครูสอนศีลธรรมที่มีคุณภาพ"
เป็นสิ่งที่สังคม ไทยกำลังขาดแคลนและต้องการอย่างยิ่ง
ซึ่งบุคลากรที่ควรจะมีบทบาท
ในการทำหน้าที่ดังกล่าวมากที่สุด ก็คือ
พระภิกษุใน พระพุทธศาสนา ผู้เป็น "พระแท้" ที่จะเป็น
แบบอย่างในการทำ
ความดีแก่ประชาชนของชาตินั่นเอง
สารบัญ
คำนำ ๓
คำนำในการจัดพิมพ์ครั้งที่ ๑ ๖
บทที่ ๑ ความนำแห่งสามัญญผลสูตร ๑๗
ความหมายของสามัญญผล ๑๗
ความย่อ ๑๙
ผู้มีส่วนแห่งสามัญญผล ๒๑
ชีวิตนักบวชนั้นประเสริฐสุด ๒๓
พระสูตรที่ต้องศึกษา ๒๕
บทที่ ๒ ที่มาแห่งสามัญญผลสูตร ๓๑
ดินแดนระดิษฐานพระพุศาสนาแห่งแรก ๓๑
ธรรมราชาพิมพิสาร ๓๓
พระเทวทัตผู้มีใจริษยา ๓๕
อชาตศัตรูราชกุมารทรงกระทำปิตุฆาต ๓๘
พระเจ้าอชาตศัตรูทรงสงสัยเป้าหมายของนักบวช ๔๔
บทที่ ๓ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จประทับ ณ สวนอัมพวัน ๔๗
พระเจ้าอชาตศัตรูทรงมีพระประสงค์ไปเฝ้าพระพุทธองค์ ๔๙
หมอชีวกสรรเสริญพระพุทธคุณ ๕๒
ขบวนเสด็จสู่สวนอัมพวัน ๕๗
ผู้ทำบาปย่อมระแวงในโลกนี้ ๖๐
บทที่ ๔ ปัญหาค้างพระทัยของพระเจ้าอชาตศัตรู ๖๕
ผู้เสด็จมาทั้งความรัก ๖๕
สามัญญผล...ปัญหาที่รอคำตอบ ๖๗
คำตอบของครูทั้ง ๖ ๖๙
คำสอนของครูทั้ง ๖ ๗๕
การปฏิบัติตนของพระเจ้าอชาตศัตรูต่อเจ้าลัทธิต่างๆ ๘๑
บทที่ ๕ สามัญญผลเบื้องต้น ๘๗
สามัญญผลประการแรก ๘๗
สามัญญผลประการที่สอง ๙๓
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศพระพุทธคุณ ๙๔
พระพุทธคุณ ๙ ๙๕
ความสำคัญของการประกาศพระพุทธคุณ ๑๑๘
บทที่ ๖ คุณธรรมที่ทำให้เป็นผู้บริสุทธิ์ ๑๒๓
แรงจูงใจและเป้าหมายในการบวช ๑๒๓
ข้อปฏิบัติเบื้องต้นของพระภิกษุ ๑๓๒
สำรวมระวังในพระปาฏิโมกข์ ๑๓๔
มีอาชีพบริสุทธิ์ ๑๔๕
ถึงพร้อมด้วยศีล ๑๖๐
คุ้มครองทวารในอินรีย์ทั้งหลาย ๑๗๓
ประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ ๑๘๕
เป็นผู้สันโดษ ๑๘๙
บทที่ ๗ สามัญญผลเบื้องกลาง ๒๐๓
ละนิวรณ์ได้ ใจย่อมเป็นสมาธิ ๒๐๕
นิวรณ์ ๒๐๖
ความหมายของสมาธิ ๒๑๐
ลักษณะของใจ ๒๑๐
ความหมายที่สมบูรณ์ของสมาธิ ๒๑๓
ฌาน ๔ ๒๑๔
ประเภทของสมาธิ ๒๑
สมาธิในทางปฏิบัติ ๒๒๐
บทที่ ๘ สามัญญผลเบื้องสูง ๒๒๗
การบรรลุมรรคผลนิพพาน ๒๒๗
สามัญญผลลำดับที่ ๑ ๒๒๘
สามัญญผลลำดับที่ ๒ ๒๓๑
สามัญญผลลำดับที่ ๓ ๒๓๔
สามัญญผลลำดับที่ ๔ ๒๓๖
สามัญญผลลำดับที่ ๕ ๒๓๘
สามัญญผลลำดับที่ ๖ ๒๔๑
สามัญญผลลำดับที่ ๗ ๒๔๕
สามัญญผลลำดับที่ ๘ ๒๔๘
บทที่ ๙ บทส่งท้าย ๒๕๙
สรุปเรื่องจากพระสูตร ๒๕๙
คุณลักษณะของพระภิกษุที่ดีในพระพุทธศาสนา ๒๖๒
ลักษณะของพระภิกษุที่ไม่ควรนับถือ ๒๖๙
การปฏิบัติของพุทธศานิกชนต่อพระภิกษุสงฆ์ ๒๗๒
เป้าหมายชีวิตของมนุษย์ ๒๗๖
คบคนพาลมีโทษถึงตกนรก ๒๘๔
คบกัลยาณมิตรมีโอกาสบรรลุนิพพาน ๒๘๘
ใจที่เศร้าหมองย่อมชำระล้างได้ด้วยบุญ ๒๙๔
โลกขาดสันติสุขเพราะคนพาล ๒๙๘
เหตุปัจจัยของการเป็นคนดี ๓๐๐
การอบรมบุตรเป็นหน้าที่สำคัญของมารดาบิดา ๓๐๗
การสารภาพผิดเป็นสิ่งจำเป็น ๓๑๓
การอบรมเยาวชนต้องการความร่วมมือจากผู้ปกครอง ๓๒๐
เกณฑ์วัดคุณภาพของคน ๓๓๑
เหตุแห่งการเกิดของศาสดาใหม่ ๆ ๓๓๕
ภาคผนวก ๓๔๓
ภาคผนวก ๑ อนันตริยกรรม ๓๔๔
ภาคผนวก ๒ อักษรย่อชื่อคัมภีร์ ๓๔๖
วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น ๓๔๗
บรรณานุกรม ๓๕๘
ประวัติย่อของพระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว) ๓๖๑
ประวัติย่อของคุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ๓๖๓