มงคลชีวิต 38 ประการ มงคลชีวิต 38 ประการ ฉบับทางก้าวหน้า

มงคลชีวิต 38 ประการ ฉบับทางก้าวหน้า

มงคลชีวิต 38 ประการ "ฉบับทางก้าวหน้า" ลำดับเรื่อง : พระมหาสมชาย ฐานวุฑโฒ

คนพาล คือใคร ? คนพาล คือคนที่มีใจขุ่นมัวเป็นปกติ เป็นผลให้มีความเห็นผิด ยึดถือค่านิยมผิดๆ และมีวินิจฉัยเสีย คือไม่รู้ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรควร อะไรไม่ควร...อ่านต่อ
บัณฑิต คือใคร ? บัณฑิต คือคนที่มีใจผ่องใสอยู่เป็นปกติ ทำให้มีความเห็นถูก ยึดถือค่านิยมที่ถูกต้อง สามารถดำเนินชีวิตอยู่ด้วยปัญญา - เป็นผู้รู้ดี คือรู้ว่าอะไรดีอะไรชั่ว...อ่านต่อ
การบูชา คือ อะไร ? การบูชา คือกาเสื่อมใสยกย่อง เชิดชู ด้วยกิริยาอาการสุภาพที่เราแสดงต่อผู้ที่ควรบูชาทั้งต่อหน้าและลับหลัง การแสดงต่อหน้า...อ่านต่อ
ถิ่นที่เหมาะสมหมายถึงอย่างไร ? ถิ่นที่เหมาะสม หมายถึง ถิ่นที่สิ่งแวดล้อมดี ไม่เป็นพิษเป็นภัยแก่สุขภาพกายและใจ ยิ่งกว่านั้น ยังสนับสนุนให้ผู้อยู่อาศัยสามารถประกอบ...อ่านต่อ
บุญคืออะไร ? บุญ คือสิ่งซึ่งเกิดขึ้นในจิตใจแล้วทำให้จิตใจใสสะอาด ปราศจากความเศร้าหมองขุ่นมัว ก้าวขึ้นสู่ภูมิที่ดี เกิดขึ้นจากการที่ใจสงบทำให้เลือกคิดเฉพาะสิ่งที่ดี ที่ถูก ที่ควร ที่เป็นประโยชน์ แล้วพูดดี ทำดี ตามที่คิดนั้น...อ่านต่อ
ตั้งตนชอบหมายถึงอย่างไร ? ตั้งตนชอบ หมายถึง การตั้งเป้าหมายชีวิต ทั้งทางโลกและทางธรรมไว้ถูกต้อง แล้วประคับประคองตนให้ดำเนินชีวิตไปตามเป้าหมายนั้น ด้วยความระมัดระวัง...อ่านต่อ
พหูสูต คือ อะไร ? พหูสูต หมายถึง ผู้ที่มีความรอบรู้ หรือพูดสั้นๆ ว่า “ฉลาดรู้” ความเป็นผู้ฉลาดรู้ คือผู้ที่รู้จักเลือกเรียนในสิ่งที่ควรรู้ เป็นผู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมามาก...อ่านต่อ
ศิลปะ คือ อะไร ? ศิลปะ แปลว่า การแสดงออกมาให้ปรากฏขึ้นได้อย่างงดงามน่าพึงชม หมายถึง “ฉลาดทำ” คือทำเป็นนั่นเอง...อ่านต่อ
วินัยคือ อะไร ? วินัย หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ สำหรับควบคุมความประพฤติทางกาย วาจา ของคนในสังคมให้เรียบร้อยดีงาม เป็นแบบแผน อันหนึ่งอันเดียวกัน...อ่านต่อ
วาจาสุภาษิต คือ อะไร ? วาจาสุภาษิต หมายถึง คำพูดที่ผู้พูดได้กลั่นกรองไว้ดีแล้วด้วยใจที่ผ่องใส มิใช่สักแต่พูด อวัยวะในร่างกายของคนเรานี้ก็แปลก...อ่านต่อ
พระคุณของพ่อแม่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสอุปมาว่า ถ้าบุตรจะพึงวางบิดามารดาไว้บนบ่าทั้งสองของตน ประคับประคองท่านอยู่บนบ่านั้น ป้อนข้าวป้อนน้ำและให้ท่านถ่ายอุจจาระปัสสาวะบนบ่านั้นเสร็จ...อ่านต่อ
ทำไมจึงต้องเลี้ยงดูบุตร ? วันหนึ่งเราต้องแก่และตาย สิ่งที่อยากได้กันทุกคน คือความปีติ ความปลื้มใจไว้หล่อเลี้ยงใจให้สดชื่น ความปลื้มปีติจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อได้เห็นผลแห่งความดี หรือผลงานดีๆ ที่เราทำไว้ ยิ่งผลงานดีมากเท่าไร...อ่านต่อ
ความหมายของสามี - ภรรยา *สามี แปลว่า ผู้เลี้ยง; ผัว *ภรรยา แปลว่า ผู้ควรเลี้ยง;เมีย คำทั้งสองนี้ เป็นคำที่แฝงความหมายอยู่ในตัว และเป็นคำคู่กัน ผู้ชายที่ได้ชื่อว่าสามีก็เพราะเลี้ยงดูภรรยา...อ่านต่อ
เหตุที่ทำให้งานคั่งค้าง ๑. ทำงานไม่ถูกกาล ยังไม่ถึงเวลาทำก็ใจร้อนด่วนไปทำ แต่พอถึงเวลาควรทำกลับไม่ทำ เช่น ตอนแดดออกมัวไปถูบ้าน...อ่านต่อ
ทาน คือ อะไร ? ทาน แปลว่า การให้ หมายถึง การสละสิ่งของของตน เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นด้วยความเต็มใจ การให้ทาน เป็นพื้นฐานความดีของมนุษยชาติ และเป็นสิ่งที่ขาดเสีย มิได้ในการจรรโลงสันติสุข...อ่านต่อ
การประพฤติธรรม คือ อะไร ? การประพฤติธรรม คือการประพฤติตนให้อยู่ในกรอบของความถูกต้องและความดี ทั้งปรับปรุงพฤติกรรมของตนให้ดีสมกับที่เกิดเป็นคนและให้มีความเที่ยงธรรม ไม่ลำเอียง...อ่านต่อ
ญาติ คือ ใคร ? ญาติ แปลว่า คนคุ้นเคย คนใกล้ชิด หมายถึง บุคคลที่คุ้นเคยและวางใจกันได้ มี ๒ ประเภท ได้แก่ ๑. ญาติทางโลก แบ่งได้เป็น ๒ พวก คือ...อ่านต่อ
งานไม่มีโทษ คือ อะไร ? งานไม่มีโทษ หมายถึง งานที่ไม่มีเวรไม่มีภัย ไม่เบียดเบียนใคร แต่เป็นประโยชน์ทั้งแก่ตนและผู้อื่น...อ่านต่อ
บาป คือ อะไร ? สิ่งของที่เสีย เรามีชื่อเรียกต่างๆ กันไป เช่น บ้านเสียเราเรียกบ้าน ชำรุด อาหารเสียเราเรียกอาหารบูด ฯลฯ คำจำพวกที่ว่า บูด ชำรุด แตก หัก...อ่านต่อ
สำรวมจากการดื่มน้ำเมาหมายถึงอะไร ? น้ำเมา โดยทั่วไปหมายถึงเหล้า แต่ในที่นี้หมายถึง ของมึนเมาให้โทษทุกชนิด ไม่ ว่าจะเป็นน้ำหรือแห้ง รวมทั้งสิ่งเสพย์ติดทุกชนิด...อ่านต่อ
ความไม่ประมาท คือการมีสติกำกับตัวอยู่เสมอ ไม่ว่าจะคิด จะพูด จะทำสิ่งใดๆ ไม่ยอมถลำลงไปในทางที่เสื่อม และไม่ยอมพลาดโอกาสในการทำความดี...อ่านต่อ
ความเคารพ คือ อะไร ? ความเคารพ หมายถึง ความตระหนัก ซาบซึ้ง รู้ถึงคุณความดีที่มี อยู่จริงของบุคคลอื่น ยอมรับนับถือความดีของเขาด้วยใจจริง...อ่านต่อ
ความถ่อมตน คือ อะไร ? *ความถ่อมตน มาจากภาษาบาลีว่า นิวาโต *วาโต แปลว่า ลม พองลม * นิ แปลว่า ไม่มี ออก...อ่านต่อ
สันโดษคืออะไร ? สันโดษ มาจากภาษาบาลีว่า สันโตสะ สัน แปลว่า ตน โตสะ แปลว่า ยินดี สันโดษจึงแปลว่า ยินดี ชอบใจ พอใจ อิ่มใจ จุใจ สุขใจ กับของของตน ความหมายโดยย่อคือ ให้รู้จักพอ รู้จักประมาณ...อ่านต่อ
ความกตัญญู คือ อะไร ? ความกตัญญู คือความรู้คุณ หมายถึงความเป็นผู้มีใจกระจ่าง มีสติปัญญาบริบูรณ์ รู้อุปการคุณที่ผู้อื่นกระทำแล้วแก่ตน...อ่านต่อ
การฟังธรรมตามกาลหมายถึงอะไร ? การฟังธรรมตามกาล คือการขวนขวายหาเวลาไปฟังธรรม ฟังคำสั่งสอนจากผู้มีธรรมะ เพื่อยกระดับจิตใจและสติปัญญาให้สูงขึ้น...อ่านต่อ
ความอดทน คือ อะไร ? ความอดทน มาจากคำว่า ขันติ หมายถึงการรักษาปกติภาวะของตนไว้ได้ ไม่ว่าจะถูกกระทบกระทั่งด้วยสิ่งอันเป็นที่พึงปรารถนาหรือไม่พึงปรารถนาก็ตาม...อ่านต่อ
คนว่าง่าย คือ ใคร ? คนว่าง่ายสอนง่าย คือคนที่อดทนต่อคำสั่งสอนได้ เมื่อมีผู้รู้แนะนำพร่ำสอนให้ ตักเตือนให้โดยชอบธรรมแล้ว ย่อมปฏิบัติตามคำสอนนั้นด้วยความเคารพอ่อนน้อม ไม่คัดค้าน ไม่โต้ตอบ ไม่แก้ตัวโดยประการใดๆ ทั้งสิ้น...อ่านต่อ
ทำไมจึงต้องเห็นสมณะ ? ความสุขทั้งหลายในโลกนี้มีอยู่ ๒ ประเภท คือ ๑. ความสุขที่ต้องอิงวัตถุกามหรือกามสุข เป็นความสุขทางเนื้อหนัง เช่น ได้เห็นรูปส่วย ได้ฟังเพลงเพราะๆ...อ่านต่อ
ทำไมจึงต้องสนทนาธรรมตามกาล ? “ปญฺญา นรานํ รตนํ ปัญญาเป็นรัตนะของคน” สํ. ส. ๑๕/๑๕๙/๕๐ นี่คือพุทธวจนะที่แสดงให้เห็นคุณค่าของปัญญา เพราะชีวิตคนนั้นมีปัญหามาก ปัญหาเหล่านั้นล้วนต้องแก้ด้วยปัญญา...อ่านต่อ
ทำไมจึงต้องบำเพ็ญตบะ ? ผ่านบันไดชีวิตมาแล้ว ๓๐ ขั้น เราจะพบว่านิสัยไม่ดีความประพฤติที่ไม่ดีของตัวเราที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นยังมีอยู่อีกมาก บางอย่างที่เราได้พยายามแก้ไขปรับปรุงแล้วมันก็ดีขึ้นตามลำดับ...อ่านต่อ
ประพฤติพรหมจรรย์ คือ อะไร ? การประพฤติพรหมจรรย์ แปลว่า การประพฤติตนอย่างพระพรหม หรือความประพฤติอันประเสริฐ หมายถึง การประพฤติตามคุณธรรมต่างๆ...อ่านต่อ
อริยสัจจ์ ๔ อริยสัจจ์ สามารถแปลได้หลายความหมาย เช่น - คือความจริงอันประเสริฐ - คือความจริงอันทำให้บุคคลผู้เห็นเป็นผู้ประเสริฐ...อ่านต่อ
นิพพาน คือ อะไร ? นิพพาน มีคำแปลได้หลายอย่าง เช่น - แปลว่า ความสูญ คือดับกิเลส ดับทุกข์ สูญจากกิเลส สูญจากทุกข์...อ่านต่อ
จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม คือ อะไร ? จิตหวั่น คือความหวั่นหวาดกังวล กลัวว่าจะประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจ จิตไหว คือความปรารถนาอยากได้สิ่งที่รักที่ชอบใจ...อ่านต่อ
จิตโศก คือ อะไร ? คำว่า โศก มาจากภาษาบาลีว่า โสกะ แปลว่า แห้ง จิตโศก จึงหมายถึง สภาพจิตที่แห้งผาก เหมือนดินแห้ง ใบไม้แห้งหมดความชุ่มชื่น...อ่านต่อ
จิตปราศจากธุลี คือ อะไร ? ธุลี แปลว่า ฝุ่นละอองที่ละเอียดมาก ในที่นี้หมายถึงกิเลสอย่างละเอียดที่เกาะ ซึม แทรก หุ้มใจของเราอย่างซ่อนเร้นบางๆ ทำให้ความผุดผ่อง ความใสสะอาดเสียไป ถ้าไม่สังเกตจะไม่เห็นไม่รู้...อ่านต่อ
ภัยของมนุษย์ ทันทีที่เกิดมาลืมตาดูโลก เราก็ต้องผจญกับภัยต่างๆ นานาชนิดที่พร้อม จะเอาให้ถึงตายอยู่ทุกวินาที เหมือนว่ายน้ำท่ามกลางความมืดอยู่กลางทะเล มหาโหด ภัยทั้งหลายเหล่านี้แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ...อ่านต่อ
มงคลชีวิต 38 ประการ ฉบับทางก้าวหน้า มงคลชีวิต พม.สมชาย ฐานวุฑฺโฒ...อ่านต่อ
มนุษย์ทุกคนที่เกิดมาตราบกระทั่งวันสุดท้ายของชีวิต ต่างมีความปรารถนาให้ตนเองมีชีวิตที่ประสบความสุข และความสำเร็จ ทั้งด้านครอบครัว หน้าที่การงาน และได้รับ...อ่านต่อ
การศึกษาตามหลักมงคลชีวิตให้เข้าใจง่าย เราต้องมองภาพรวมของมงคลสูตรให้เข้าใจว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงได้จัดลำดับหมวดหมู่ไว้อย่างเป็นระบบ เรียงลำดับจากง่ายไปหายาก สามารถนำมาปฏิบัติได้ตามลำดับ มงคลเปรียบเสมือนการขึ้นบันไดที่ละขั้นจนถึงขั้นสูงสุด...อ่านต่อ
มงคลหมู่ที่ 1 ฝึกตนเองให้เป็นคนดี มงคลที่ 1 ไม่คบคนพาล มงคลที่ 2 คบบัณฑิต มงคลที่ 3 บูชาบุคคลที่ควรบูชา สูตรสำเร็จในการพันาตนเองหมู่แรก เปรียบประดุจบันไดขั้นแรกที่จะก้าวนำพาชีวิตไปสู่ความสำเร็จ ความเจริญก้าวหน้า ทั้งทางโลกและทางธรรม...อ่านต่อ
มงคลที่ 4 อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม มงคลที่ 5 มีบุญวาสนามาก่อน มงคลที่ 6 ตั้งตนชอบ เมื่อเราเริ่มต้นฝึกตนให้เป็นคนดี ด้วยการมีมาตรฐานความคิดเห็นที่ถูกต้อง มีต้นแบบทางความคิดคำพูด และการกระทำที่ทำให้สามารถถ่ายทอดและพันาคุณธรรมความ...อ่านต่อ
มงคลที่ 7 เป็นพหูสูต มงคลที่ 8 มีศิลปะ มงคลที่ 9 มีวินัย มงคลที่ 10 มีวาจาสุภาษิต เมื่อเราได้ผ่านขั้นตอนการพัฒนาตนเองในขั้นต้น ด้วยการฝึกตนให้เป็นคนดี โดยการไม่คบคนพาลคบบัณฑิต บูชาบุคคลที่ควรบูชา...อ่านต่อ
มงคลที่ 11 บำรุงบิดามารดา มงคลที่ 12 เลี้ยงดูบุตร มงคลที่ 13 สงเคราะห์ภรรยา(สามี) งคลที่ 14 ทำงานไม่คั่งค้าง ผู้ที่ผ่านการฝึกตนให้เป็นคนดี มีปัจจัยแวดล้อมพร้อม และมีคุณสมบัติความสามารถเป็นที่พึ่งให้ตนเองได้แล้ว การพันาตนเองให้ มบูรณ์ยิ่งขึ้น จะต้องเป็นผู้ที่รู้จักบำเพ็ญ...อ่านต่อ
มงคลที่ 15 บำเพ็ญทาน มงคลที่ 16 ประพฤติธรรม มงคลที่ 17 สงเคราะห์ญาติ มงคลที่ 18 ทำงานไม่มีโทษ...อ่านต่อ
มงคลหมู่ที่ 6 ปรับเตรียมภาพใจให้พร้อม มงคลที่ 19 งดเว้นจากบาป มงคลที่ 20 สำรวมจากการดื่มน้ำเมา มงคลที่ 21 ไม่ประมาทในธรรม จากมงคล 18 มงคลแรก เป็นเรื่องของการครองตน ครองชีวิตโดยเฉพาะสำหรับมนุษย์ทุกคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา...อ่านต่อ
มงคลหมู่ที่ 7 การแสวงหาธรรมะเบื้องต้นใส่ตัว มงคลที่ 22 มีความเคารพ มงคลที่ 23 มีความถ่อมตน มงคลที่ 24 มีความสันโดษ มงคลที่ 25 มีความกตัญู มงคลที่ 26 ฟังธรรมตามกาลเมื่อเราเตรียมสภาพใจของเราไว้พร้อมด้วยการแก้ไขปรับปรุง ให้เป็นผู้ที่ไม่ข้องแวะกับสิ่งที่เป็นบาป...อ่านต่อ
มงคลหมู่ที่ 8 การแสวงหาธรรมะเบื้องสูงใส่ตัวให้เต็มที่ มงคลที่ 27 มีความอดทน มงคลที่ 28 เป็นคนว่าง่าย มงคลที่ 29 เห็นสมณะ มงคลที่ 30 สนทนาธรรมตามกาล เมื่อเราฝึกใจจนได้คุณธรรมเบื้องต้น จากการมีความเคารพ...อ่านต่อ
มงคลหมู่ที่ 9 การฝึกภาคปฏิบัติเพื่อกำจัดกิเลส ให้สิ้นไป มงคลที่ 31 บำเพ็ญตบะ มงคลที่ 32 ประพฤติพรหมจรรย์ มงคลที่ 33 เห็นอริยสัจ มงคลที่ 34 ทำพระนิพพานให้แจ้ง...อ่านต่อ
มงคลหมู่ที่ 10 ผลจากการปฏิบัติธรรมจนหมดกิเลส มงคลที่ 35 จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรมมงคลที่ 36 จิตไม่โศกมงคลที่ 37 จิตปราศจากธุลี มงคลที่ 38 จิตเกษม ผลจากการปฏิบัติธรรมจนหมดกิเลสเมื่อเราอาบน้ำชำระร่างกายเรียบร้อยแล้วก็จะมีผลตามมา...อ่านต่อ
การพัฒนาตนเองตามหลักมงคลชีวิต 38 ประการ ผู้ที่จะได้รับผลจะต้องน้อมนำหลักธรรมะที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะนำมาปฏิบัติฝึกฝนอบรมตนเอง เป็นการประกอบเหตุแห่งความเจริญก้าวหน้าทั้งทางกาย ......อ่านต่อ

มงคลชีวิต 38 ประการ "ฉบับทางก้าวหน้า" ลำดับเรื่อง : พระมหาสมชาย ฐานวุฑโฒ

มงคล, มงคล 38, มงคลชีวิต 38 ประการ ฉบับทางก้าวหน้า, มงคลที่ 1 ไม่คบคนพาล, มงคลที่ 2 คบบัณฑิต, มงคลที่ 3 บูชาบุคคลที่ควรบูชา, มงคลที่ 4 อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม, มงคลที่ 5 มีบุญวาสนามาก่อน, มงคลที่ 6 ตั้งตนชอบ , มงคลที่ 7 พหูสูต, มงคลที่ 8 มีศิลปะ, มงคลที่ 9 มีวินัย, มงคลที่ 10 มีวาจาสุภาษิต, มงคลที่ 11 บำรุงบิดามารดา, มงคลที่ 12 เลี้ยงดูบุตร, มงคลที่ 13 สงเคราะห์ภรรยา-สามี, มงคลที่ 14 ทำงานไม่คั่งค้าง, มงคลที่ 15 บำเพ็ญทาน, มงคลที่ 16 ประพฤติธรรม, มงคลที่ 17 สงเคราะห์ญาติ, มงคลที่ 18 ทำงานไม่มีโทษ, มงคลที่ 19 งดเว้นจากบาป, มงคลที่ 20 สำรวมจากการดื่มน้ำเมา, มงคลที่ 21 ไม่ประมาทในธรรม, มงคลที่ 22 มีความเคารพ, มงคลที่ 23 มีความถ่อมตน, มงคลที่ 24 มีความสันโดษ, มงคลที่ 25 มีความกตัญญู, มงคลที่ 26 ฟังธรรมตามกาล, มงคลที่ 27 มีความอดทน, มงคลที่ 28 เป็นคนว่าง่าย, มงคลที่ 29 เห็นสมณะ, มงคลที่ 30 สนทนาธรรมตามกาล, มงคลที่ 31 บำเพ็ญตบะ, มงคลที่ 32 ประพฤติพรหมจรรย์, มงคลที่ 33 เห็นอริยสัจ, มงคลที่ 34 ทำพระนิพพานให้แจ้ง, มงคลที่ 35 จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม, มงคลที่ 36 จิตไม่โศก, มงคลที่ 37 จิตปราศจากธุลี, มงคลที่ 38 จิตเกษม "

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล