นิทานชาดกทั้งหมด นิทานพร้อมภาพสวยๆ นิทานชาดกและคติสอนใจ อ่านนิทานชาดกพร้อมรูปภาพประกอบ นิทานชาดกที่คัดแต่เรื่องดีๆ
อ่านแล้วสนุกและให้สาระคติสอนใจได้เป็นอย่างดี รวบรวมไว้ที่นี่ให้คุณได้อ่านกันแบบ

ได้ยินว่า พราหมณ์ชาวพระนครราชคฤห์ผู้หนึ่งเป็นผู้ถือมงคลตื่นข่าว ไม่เลื่อมใสในพระรัตนตรัย เป็นมิจฉาทิฏฐิ ...อ่านต่อ
ดังได้สดับมา วันหนึ่ง พระเจ้าปเสนทิโกศล หรือ พระเจ้าโกศลมหาราชเสด็จเข้าสู่นิทรารมย์ในราตรีกาล ในปัจฉิมยาม ทอดพระเนตรเห็นพระสุบินนิมิตอันใหญ่หลวง ๑๖ ประการ ...อ่านต่อ
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในกำเนิดกระต่ายอยู่ในป่า ก็ป่านั้นได้มีเชิงเขา แม่น้ำและปัจจันตคาม มารวมกันแห่งเดียว ...อ่านต่อ
 ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในสกุลพราหมณ์สกุลหนึ่ง ...อ่านต่อ
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์สละกามเข้าไปในดินแดนป่าหิมพานต์ บวชเป็นฤๅษี ...อ่านต่อ
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี มีปลา ๓ ตัวอยู่ในพระนครพาราณสี ปลาทั้ง ๓ นั้น มีชื่อดังนี้ คือ พหุจินตี อัปปจินตีและมิตจินตี. ปลาทั้ง ๓ พากันออกจากป่ามาสู่ถิ่นมนุษย์. ...อ่านต่อ
ในอดีตกาลเมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในเมืองพาราณสี พระโพธิสัตว์กำเนิดเป็นหนู มีร่างกายอ้วนท้วนเหมือนลูกสุกรอ่อน มีหนูหลายตัวเป็นบริวาร ...อ่านต่อ
ในครั้งที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน มีเหตุการณ์ที่พระศาสดาต้องทรงปรารภถึงภิกษุหนุ่มผู้ประพฤติตัวไม่สมควรต่อพระมหากัสสปเถระ ภิกษุหนุ่มรูปนี้มักแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ทั้งยังชอบพูดจาโกหกและหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ ...อ่านต่อ
  ในอดีตกาล ณ เมืองพาราณสี พระเจ้าธนัญชัยทรงเป็นกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ พระองค์โปรดสัตว์เลี้ยงและให้ความเมตตาต่อทุกชีวิต หนึ่งในสัตว์ที่พระองค์ทรงโปรดปรานมากที่สุดคือ วานรเผือกสองพี่น้อง ได้แก่ ราธะ ผู้พี่ผู้สุขุม รอบคอบ และ โปฏฐปาทะ ผู้น้องที่มีจิตใจร้อนแรงและมักแสดงออกตามอารมณ์ ...อ่านต่อ
      ณ พระเชตวันมหาวิหาร พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่เหล่าภิกษุ ขณะนั้นมีภิกษุสองรูปที่สนิทสนมจนแยกจากกันไม่ได้ แม้แต่ในยามบิณฑบาตก็ยังเดินคู่กันเสมอ ...อ่านต่อ
ณ พระวิหารเชตวันอันสงบ พระศาสดาทรงแสดงธรรมแก่เหล่าภิกษุ ขณะนั้น มีเรื่องเล่าถึงเด็กชายคนหนึ่ง ผู้ชอบทำลายห่อใบไม้ที่พ่อของเขาจัดไว้ ...อ่านต่อ
 ณ วัดเชตวันมหาวิหาร วันหนึ่งพระพุทธเจ้าทรงปรารภถึงภิกษุรูปหนึ่งที่ชอบหลอกลวงเพื่อหาปัจจัย ทรงกล่าวว่า การกระทำเช่นนี้ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่มีมาตั้งแต่อดีตชาติ ...อ่านต่อ
 ณ ดินแดนแห่งแสงธรรม พระศาสดาเสด็จประทับ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ขณะนั้นมีเรื่องราวของหญิงสาวผู้หนึ่งเป็นที่กล่าวขานในหมู่ภิกษุทั้งหลาย เรื่องนี้เริ่มต้นจากตระกูลหนึ่งในกรุงสาวัตถี ...อ่านต่อ
  พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภราโชวาทสูตร จึงตรัสเรื่องนี้   ก็ในครั้งนั้น พระศาสดา อันพระเจ้าปเสนทิโกศลทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว จึงได้ทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้  ...อ่านต่อ
พระบรมศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภมิตรของท่านอนาถบิณฑิกะผู้หนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้  มิตรผู้นั้นได้เคยเป็นสหายร่วมเล่นกันมากับท่านอนาถบิณฑิกะ ทั้งเรียนศิลปะในสำนักอาจารย์เดียวกัน โดยนามมีชื่อว่า กาฬกรรณี.    ...อ่านต่อ
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุขลาดรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ภิกษุนั้นเป็นกุลบุตรชาวพระนครสาวัตถีผู้หนึ่ง ฟังธรรมของพระศาสดาแล้วบรรพชา ...อ่านต่อ
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้กระสันแล้วรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้  ได้ยินว่า กุลบุตรผู้หนึ่งบวชถวายชีวิตในพระพุทธศาสนา วันหนึ่ง เที่ยวบิณฑบาตในพระนครสาวัตถี เห็นหญิงนางหนึ่งแต่งกายหมดจดงดงาม ...อ่านต่อ
ได้ยินว่า ภิกษุ ๔ รูปเข้าไปเฝ้าพระตถาคตทูลขอกรรมฐาน พระศาสดาทรงบอกกรรมฐานแก่ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุเหล่านั้นเรียนกรรมฐาน ไปสู่ที่พัก   ในภิกษุเหล่านั้น  ภิกษุรูปหนึ่งกำหนดผัสสายตนะ ๖ บรรลุพระอรหัตแล้ว  ...อ่านต่อ
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี มีดาบสรูปหนึ่งได้อภิญญา ๕ มีตบะกล้า อาศัยปัจจันตคามตำบลหนึ่ง อยู่ ณ บรรณศาลาชายป่า พวกชาวบ้านช่วยกันบำรุงพระดาบสด้วยความเคารพ   ...อ่านต่อ
อุบาสกนั้นเป็นโสดาบันเดินทางกับกองเกวียนขบวนหนึ่ง ขณะพักแรมกลางป่า เขาได้เดินจงกรมสงบจิตใต้ต้นไม้ใหญ่ ขณะนั้นพวกโจรราว 500 คน วางแผนจะโจมตีกองเกวียน แต่เมื่อเห็นอุบาสกที่กำลังเดินจงกรม คิดว่าเป็นยามเฝ้าและรอให้หลับก่อนค่อยบุก ...อ่านต่อ
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ได้กล่าวถึงเรื่องราวการสรรเสริญปัญญาเริ่มจากคาถาว่า “นายํ ฆรานํ กุสโล” ซึ่งสะท้อนถึงความล้ำลึกในปัญญาของพระองค์ ...อ่านต่อ
ย้อนกลับไปในครั้งนั้น เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติที่กรุงพาราณสี พระอัครมเหสีทรงครรภ์และได้รับการดูแลอย่างดี จนกระทั่งวันคลอดพระโอรสในยามใกล้รุ่ง แต่ในเวลานั้นก็มีนางยักษิณีที่หวังจะกินทารก ด้วยความอาฆาตแค้นตั้งแต่ชาติที่แล้ว ...อ่านต่อ
 ย้อนกลับไปในอดีต ณ เมืองพาราณสี มีพระราชา "เอสุการี" ซึ่งมีพราหมณ์ปุโรหิตเป็นสหายตั้งแต่วัยเยาว์ ทั้งสองแม้จะมีอำนาจและบารมี แต่กลับไม่มีโอรสสืบสกุล วันหนึ่งเมื่อพวกเขากำลังสนทนาในช่วงเวลาที่ผ่อนคลาย ทั้งสองตกลงกันว่าหากใครมีลูกก่อน ลูกคนนั้นจะได้ครอบครองราชสมบัติของอีกฝ่าย! ...อ่านต่อ
ในเวลาเดียวกัน ที่กรุงพาราณสี ประชาชนทนทุกข์ยากจากภัยแล้งที่ยาวนาน ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลมานาน ท้องนาทั้งหลายกลายเป็นผืนดินแห้งแล้ง ผู้คนและสัตว์ต่างล้มตายจากความหิวโหย จนชาวบ้านทนไม่ไหว พากันมุ่งหน้าไปยังพระราชวังเพื่อร้องทุกข์ ...อ่านต่อ
ย้อนไปในอดีตกาลนานมา ณ ป่าหิมพานต์อันกว้างใหญ่ ในกาลนั้นพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็น พญาช้างพราย สูงใหญ่งามสง่า ดูน่าเกรงขามยิ่งนัก โพธิสัตว์พญาช้างเป็นจ่าโขลง ...อ่านต่อ
เจ้าช้างเกเรเดินจากไป ไม่แยแสต่อความปวดร้าว เฉกเช่นสตรีเพศ ไม่ว่าคนหรือสัตว์ก็ย่อมรักลูกตนเป็นธรรมดา จิตใจของนางนกไส้แตกสลาย ...อ่านต่อ
 ในฤดูฝน แถบชายแดนของพระเจ้ากรุงโกศลเกิดกบฏ ทหารสู้รบถึงสองสามครั้ง ก็ไม่สามารถเอาชนะข้าศึกได้สักที จึงส่งข่าวทูลถวายพระราชาให้ทรงทราบ ...อ่านต่อ
ณ พระวิหารเชตวัน พระตถาคตทรงเอ่ยถึงพระภิกษุเหลาะแหละรูปหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้ว่า ภิกษุรูปนั้นเป็นผู้เหลาะแหละ ละเลยการประพฤประติบัติที่ดี ...อ่านต่อ
   "ในอดีตหม่อมฉันเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าอุเทน พระองค์ทรงดูแลเป็นอย่างดี แต่เมื่อเวลาผ่านไปแก่ชราลงไม่สามารถช่วยงานได้ พระองค์ทรงงดการดูแลหมดทุกอย่าง จนตอนนี้ไม่มีที่พึ่ง ...อ่านต่อ
 เหตุการณ์เช่นนี้ยังคงดำเนินต่อไปเรื่อยๆ จนผู้เป็นภรรยา อดคิดไม่ได้ว่า "สามีของเราได้อะไรมา ไม่เคยให้พ่อเลย สงสัยเขาคงไม่ค่อยถูกกับบิดาแน่ เราจะใช้อุบายนี้ทำให้เกลียดสามีเกลียดเรา แล้วไล่ออกจากบ้านซ้ะ" ...อ่านต่อ

ความหมายของชาดก

ในความหมาย คือเล่าถึงการที่พระโพธิสัตว์เวียนว่ายตายเกิด ถือเอากำเนิดในชาติต่าง ๆ ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้าง แต่ก็ได้พยายามทำความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่ง จะถือว่า เรื่องชาดก เป็นวิวัฒนาการแห่งการบำเพ็ญคุณงามความดีของพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ ในอรรถกถาแสดงด้วยว่า ผู้นั้นผู้นี้กลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้า แต่ในบาลีพระไตรปิฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่อง เพราะฉะนั้น สาระสำคัญจึงอยู่ที่คุณงามความดีและอยู่ที่คติธรรมในนิทานนั้น ๆ

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล