ชื่อหนังสือ ง่ายที่สุดถึงจุดหมาย เล่ม 2
“ลูกต้องทําง่ายมาก จึงจะได้ง่ายมากและทําง่ายมากไปจนถึงที่สุดแห่งธรรม” เป็นโอวาทของพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) ได้เมตตาชี้แนะวิธีการปฏิบัติธรรมเพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย และเป็นแนวทางในการศึกษาวิชชาธรรมกาย
ง่ายที่สุดถึงจุดหมาย ๒ เป็นหนังสือที่รวบรวมวิธีการปฏิบัติธรรมที่ง่าย ๆ ต่อเนื่องมาจากง่ายที่สุดถึงจุดหมาย ๑ เป็นภาษาที่ง่าย ๆ วิธีการที่ง่าย ๆ เข้าใจได้อย่างง่าย ๆ ทําให้เกิดกําลังใจ รักในการปฏิบัติธรรม และเข้าถึงธรรมะภายในได้อย่างง่าย ๆ
สารบัญ
ง่ายแสนง่ายเป็น Keyword ๑๒
ตอบตัวเองทุกวัน “จริงไหม” ๑๔
ต้องอะไรก็ได้ทั้งนั้น ๑๖
ยิ่งเรียน ยิ่งง่าย ยิ่งใสขึ้น ๑๙
ใช้ทุกวินาที ใจอยู่ตรงกลาง มุ่งสู่ภายใน ๒๑
๑. บทฝึก
จับจุดได้ จะได้ทุกรอบ ๒๖
เอาความละเอียดล่าสุดเป็นจุดเริ่มต้นใหม่ ๒๘
ฝึกแปะติดให้ได้ ๓๑
เข้าไปเป็นสิ่งนั้น ๓๔
จําวิธีการ อย่าจําอารมณ์ ๓๕
สักแต่ว่าเห็น ๓๗
องค์ประกอบภายในต้องสมบูรณ์ ๔๐
สิ่งที่พญามารกลัว ๔๒
๒. ฝึกทหารกองทัพธรรม
ฝึกเข้าแถว เข้าตรงกลาง ๔๖
ทําให้มีความสุข ความบริสุทธิ์เพิ่มขึ้น ๔๘
ฝึกพื้นฐานให้นิ่งแน่น ๕๐
วิญญาณทหาร ๕๒
อย่าชักศึกเข้าบ้านทางใจ ๕๓
ใจเราต้องเป็นหนึ่ง มุ่งไปข้างหน้า ๕๔
รักวิชชาธรรมกายจริง ๆ หรือเปล่า ๕๗
ถ้ารู้จักตัวเองจริง ๕๙
๓. ทําอย่างคุณยายฯ
คุณยายฯ ใจเกลี้ยง ไม่ติดอะไรเลย ๖๒
มนุษย์มหัศจรรย์ ๖๕
ฝึก “ขาดรู้” เหมือนคุณยายฯ ๖๗
หยาบสุดเฉียบ ละเอียดสุดฉิว ๗๐
คุณยายฯ รู้แจ้งในสังขารโลก ๗๒
ฝึกนิสัยเหมือนม้าอาชาไนย ๗๕
หลวงพ่ออยากให้เป็นอย่างคุณยายฯ ๗๗
๔. การเรียนวิชชาธรรมกาย
ดูจากดวงเดียวกัน ๘๐
เรียนธรรมะเพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ฯ ๘๒
เพราะเห็นจึงทําได้ ๘๓
มีจริง แล้วปลื้ม ๘๕
วาดประสบการณ์ภายใน ๘๗
วิชชาธรรมกาย เรียนด้วยพระธรรมกาย ๘๙
วิชชาธรรมกาย เรียนด้วยภาพภายใน ๙๑
ฝึกหยุดใจนิ่งสนิทสมบูรณ์ ๙๔
ตอบตามความเป็นจริงที่เห็น ๙๖
ตอบขาด ตอบเกิน ๙๙
๕. กําลังใจ
พึงพอใจในสิ่งที่เรามี ๑๐๒
นึกถึงบุญ ความบริสุทธิ์แล้วให้ปลื้ม ๑๐๖
หลักสําคัญที่สุดของการเรียนวิชชาธรรมกาย ๑๐๙
ใจต้องไม่ติดอะไรเลย ๑๑๑
หยุดแรกสมบูรณ์ก็ได้หมด ๑๑๓
เห็นแจ้งจึงจะรู้แจ้ง ๑๑๖
๖. ข้อสังเกต
นั่งธรรมะแบบไม่ทําอะไรเลย ๑๒๐
ต้องนิ่งอย่างเดียว ๑๒๓
อยากอยู่กับตัวเอง ๑๒๕
ทําถูกหลักวิชชา หมดสิทธิ์ไม่เห็นเลย ๑๒๖
เอาชนะความอยากเดินหน้า ภาวนาตามหลัง ๑๒๙
เครื่องวัดความละเอียด ๑๓๑
ใจจะละเอียดได้ ต้องหลุดจากหยาบ ๑๓๒
ติดตรงไหน รีบแก้ไข ๑๓๕
สุขเดิม ส่งต่อสุขใหม่ไปเรื่อย ๆ ๑๓๖
ใจที่ละเอียด ใจจะมี Power ๑๓๘
อยากปลีกวิเวก อย่างนี้ไม่นาน ๑๔๐
ทําตามหลักวิชชา มันต้องได้ ๑๔๒
๗. ความสุข
วิชชาธรรมกาย แหล่งของความสุข ๑๔๗
ความสุข คือ สบายกาย สบายใจ ๑๔๙
ความสุขมาติดเรา ๑๕๒
ติดสุขที่ใหญ่ภายใน ๑๕๔
ความสุขที่ตัวเองยอมรับ ๑๕๖
๘. เตือนใจ
ชิงช่วง ขณะที่ยังแข็งแรง ๑๖๐
สอนตนเองว่า ต้องรู้แจ้งเห็นจริงได้ ๑๖๔
ถ้าลูกได้ธรรมะ จะหายสงสัย ๑๖๕
สํารวมอินทรีย์ที่แท้จริง ๑๖๗
หยุดนิ่ง มุ่งเข้าสู่ภายในของพระอริยเจ้า ๑๖๘
วัยแข็งแรง เป็นโอกาสที่ดีที่สุด ๑๗๑
เห็นอย่างเดียวก็มีความสุข ๑๗๒
ถ้านิ่งแน่นจริง จะทันกันเอง ๑๗๔
ใจต้องไม่ติดอะไรเลย ๑๗๖
เขาทําได้ ทําไมเราจะทําไม่ได้ ๑๗๗
รักตัวเองที่ถูกหลักวิชชา ๑๗๘
๙. ปกิณกะ
อธิษฐานกลางหลวงปู่ ๑๘๒
อธิษฐานซ้ํา ๆ อย่างนี้เป็นหลัก ๑๘๔
ตําแหน่งที่ควรหวง ฐานที่ ๗ ๑๘๖
เห็นด้วยตาภายใน จะมีเหตุผล ๑๘๘
Exercise สําคัญ ๑๙๓
เปลี่ยนสับสน เป็นสุขสันต์ ๑๙๗
๑๐. ให้เป็นของขวัญหลวงพ่อ
ให้ความร่วมมือกับหลวงพ่อ ๒๐๐
กลางองค์พระให้มีหลวงพ่ออยู่ด้วย ๒๐๑
ยึดเอาศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ คืนกลับมา ๒๐๔
ใจติดได้สนิท ติดที่สุดแห่งธรรมอย่างเดียว ๒๐๗
ให้ทําที่หลวงพ่อชอบ... ๒๑๑
ให้เป็นของขวัญหลวงพ่อ ๒๑๓
ของขวัญจากตรงกลาง ๒๑๖
สมฝันกันทุกคน ๒๑๗
วิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น ๒๑๘
รายนามเจ้าภาพร่วมอนุโมทนาบุญ ๒๓๔