คู่มือเตรียมสอบ
นักธรรมชั้นตรี (ธรรมศึกษาตรี)
โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย
คำนำ
พระภิกษุและสามเณรทุกรูปเมื่อบวชเป็นพุทธบุตร คือบุตรที่เกิดในทางธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ต้องศึกษาพระธรรมและพระวินัยที่เป็นคำสังและคำสอนของพระองค์ให้แตกฉาน เพี่อฝึกหัดขัดเกลาตัวเองให้เป็นพระภิกษุและสามเณรที่ดีสมบูรณ์พร้อมต้วยปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ และเทศนา
คณาจารย์โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ได้เล็งเห็นถึงความคำคัญอย่างยิ่งในการคืกษาพระธรรมคำสังสอนของพุทธบุตรที่เป็นพระนวกะ คือ พระบวชใหมในแตละปีที่ได้บวชเข้ามาจึงได้จัดทำหนังสิอ "คู่มือเตรียมสอบนักธรรมชั้นตรี" เพี่อเป็นคู่มีอประกอบในการคืกษาความรูพี้นฐานทางพระพุทธศาสนรฺ ได้รวบรวมความรู้ของนักธรรมชั้นตรีทั้ง ๕ วิชาไวัโนเล่มเดียวกัน คือ วิชาพุทธประวัติ วิชาศาสนพิธี วิชาวินัย วิชาธรรมะ และวิชากระทู้ พร้อมทั้งแบบทดสอบของแต่ละบท
. คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสิอคู่มือเตรียมสอบนักธรรมชั้นตรีเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์กับพระภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ และผู้ที่สนใจศึกษาพระพุทธศาสนาทุกท่าน เพราะว่าทุกท่านเป็นอายุของพระพุทธศาสนา
สารบัญ
วิชาพุทธประวัติ..............................................................๑
ปริเฉทที่ ๑ ชมพูทวีปเเละประชาชน.....................................๔
ปริเฉทที่ ๒ สักกชนบทและศากยวงศ์.................................๑๐
ปริเฉทที่ ต พระศาสดาประสูติ..........................................๑๗
ปริเฉทที่ ๔ เสด็จอฺอกบรรพชา.........................................๒๕
ปริเฉทที่ ๕ ตรัสรู้......................................................... ๒๙
ปุริเฉทที่ ๖ เสวยวิมุติสุข.................................................๓๘
ปริเฉทที่ ๗ ส่งพระสาวกไปประกาศพระศาสนา....................๔๗
ปริเฉทที่ ๘ เสด็จกรุงราชคฤห์........................................ ๕๕
ปริเฉทที่. ๙ ทรงบำเพ็ญทุทธกิจในแครันมคธ......................๖๔
ปริเฉทที่ ๑๐ เสด็จกรุงกบิลพัสดุ..................................... ๗๒
ปริเฉทที่ ๑๑ เสด็จแคว้นโกศล .......................................๗๕
ปริเฉทที่ ๑๒ ปรินิพพาน................................................๗๘
ปริเฉทที่ ๑๓ ความเป็นมาแห่งพระธรรมรินัย...................... ๙๙
วิชาศาสนพิธี............................................................ ๑๐๙
บทที่ ๑ กุศลพิธี.........................................................๑๑๓
บทที่ ๒ บุญพิธี........................................................ ๑๒๙
บทที่ ต ทานพิธี.........................................................๑๓๖
บทที่ ๔ ปกิณกพิธี.................................................... ๑๔๒
วิชาวินัย.................................................................. ๑๕๓
กัณฑ์ที่ ๑ อุปสัมปทา ................................................๑๕๔
กัณฑ์ที่ ๒ พระรินัย................................................... ๑๖๓
กัณฑ์ที่ ๓ สิกขาบท.................................................. ๑๗๒
กัณฑ์ที่ ๔ ปาราชิก๔..................................................๑๗๖
กัณฑ์ที่ ๕ สังฆาทิเสส ๑๓...........................................๑๙๐
กัณฑ์ที่ ๖ นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐.................................. ๒๑๒
จีวรวรรคที่๑ ............................................ ๒๑๓
โกสิยวรรคที่ ๒ ............................................๒๒๖
ปัตตวรรคที่๓ ............................................ ๒๓๔
กัณฑ์ที่ ๗ ปาจิตตีย์ ๙๒ ............................................ ๒๔๕
มุสาวาทวรรคที่ ๑ ...................................... ๒๔๖
ภูตคามวรรคที่๒ .........................................๒๕๔
โอวาทวรรคที่ ๓.......................................... ๒๖๒
โภชนวรรคที่ ๔ ............................................๒๖๖
อเจลกวรรคที่ ๕ ..........................................๒๗๕
สุราปานวรรคที่ ๖.......................................... ๒๘๓
สัปปานวรรคที่ ๗ .......................................... ๒๙๐
สหธรรมิกวรรคที่ ๘........................................ ๒๙๖
รตนวรรคที่ ๙................................................๓๐๓
กัณฑ์ที่ ๘ ปาฏิเทสนียะ ๔........................................ ๓๑๑
เสขิยวัตร ๗๕............................................ ๓๑๕
กัณฑ์ที่ ๙ อธิกรณสมถะ ๗ ........................................ ๓๒๖
กัณฑ์ที่ ๑๐ มาตรา .................................................. ๓๓๓
วิชาธรรมวิภาค
ทุกะ คือหมวด ๒...................................................... ๓๓๘
ติกะ คือหมวด ๓ ......................................................๓๔๕
จตุกกะ คือหมวด ๔................................................... ๓๖๐
ป้ญจกะ คือหมวด ๕................................................. ๓๗๙
ฉักกะ คือหมวด ๖ .................................................... ๓๙๔
สัตตกะ คือหมวด ๗................................................... ๔๐๓
อัฎฐกะ คือหมวด ๘...................................................๔๑๐
นวกะ คือหมวด ๙......................................................๔๑๖
ทสกะ คือหมวด ๑๐...................................................๔๑๙
ปกิณกะ คือหมวดเบ็ดเดล็ด..........................................๔๓๐
คิหิปฏิบัติ จตุกกะ คือหมวด ๔..................................... ๔๓๔
คืหิปฏิบัติ ปัญจกะ คือหมวด ๕.....................................๔๔๘
คิหิปฏิบัติ ฉักกะ คือหมวด ๖ .......................................๔๕๓
วิชาเรียงควฺามแก้กระทู้ธรรม ........................................๔๖๒
แบบฟอร์มการเขียนกระทู้........................................... ๔๗๑
ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรม...................................๔๗๓
พุทธศาสนสุภาษิตชั้นตรี............................................ ๔๗๘
บรรณานุกรม ......................................................... ๔๘๔
คำค้น ธรรมะศึกษาตรี ธัมมะศึกษาตรี นักธรรมตรี