เสขิยวัตร หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (ข้อ ๗ - ๑๖)

วันที่ 05 เมย. พ.ศ.2561

เสขิยวัตร , สารูป , บ่อเกิดของมารยาทไทย , โภชนปฏิสังยุต , ธัมมเทสนาปฏิสังยุต , ปฏิสังยุต , ระเบียบปฏิบัติของพระภิกษุ , เสขิยวัตร หมวดปกิณณ , เสขียวัตรหมวดโภชนปฏิสังยุต , เสขิยวัตร หมวดสารูป , เสขิยวัตร หมวดธัมเทสนาปฎิสังยุต , พระวินัยเบื้องต้น , เสนาสนะ , พระภิกษุ , การครองผ้า , การขบฉัน , สังฆาทิเสส , พระปาฏิโมกข์ , การสวดพิจารณาอาหาร , รู้จักประมาณ , การใช้สรรพนามในหมู่พระ , บิณฑบาต , ปกิณณกะ , มารยาทในการรับประทานอาหาร , พระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อทัตตชีโว , เสขิยวัตร หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (ข้อ ๗ - ๑๖) , หมวดธรรมว่าด้วยมารยาทในการแสดงธรรม , ข้อ ๗ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน” , ข้อ ๘ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน” , ข้อ ๙ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า” , ข้อ ๑๐ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ” , ข้อ ๑๑ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ” , ข้อ ๑๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ” , ข้อ ๑๓ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง” , ข้อ ๑๔ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”  , ข้อ ๑๕ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า” , ข้อ ๑๖ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

เสขิยวัตร
ต้นบัญญัติมารยาทไทย

หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต
หมวดธรรมว่าด้วยมารยาทในการแสดงธรรม

ข้อ ๗ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน”
ข้อ ๘ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน”
ข้อ ๙ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า”
ข้อ ๑๐ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ”
ข้อ ๑๑ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ”
ข้อ ๑๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ”
ข้อ ๑๓ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง”
ข้อ ๑๔ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”
ข้อ ๑๕ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า”
ข้อ ๑๖ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

-------------------------------------------------


เสขิยวัตร , สารูป , บ่อเกิดของมารยาทไทย , โภชนปฏิสังยุต , ธัมมเทสนาปฏิสังยุต , ปฏิสังยุต , ระเบียบปฏิบัติของพระภิกษุ , เสขิยวัตร หมวดปกิณณ , เสขียวัตรหมวดโภชนปฏิสังยุต , เสขิยวัตร หมวดสารูป , เสขิยวัตร หมวดธัมเทสนาปฎิสังยุต , พระวินัยเบื้องต้น , เสนาสนะ , พระภิกษุ , การครองผ้า , การขบฉัน , สังฆาทิเสส , พระปาฏิโมกข์ , การสวดพิจารณาอาหาร , รู้จักประมาณ , การใช้สรรพนามในหมู่พระ , บิณฑบาต , ปกิณณกะ , มารยาทในการรับประทานอาหาร , พระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อทัตตชีโว , เสขิยวัตร หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (ข้อ ๗ - ๑๖) , หมวดธรรมว่าด้วยมารยาทในการแสดงธรรม , ข้อ ๗ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน” , ข้อ ๘ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน” , ข้อ ๙ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า” , ข้อ ๑๐ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ” , ข้อ ๑๑ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ” , ข้อ ๑๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ” , ข้อ ๑๓ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง” , ข้อ ๑๔ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”  , ข้อ ๑๕ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า” , ข้อ ๑๖ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

ข้อ ๗. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน”

         ยาน ในที่นี้หมายถึง คานหาม ถ้าเรายืนอยู่แล้วเขานั่งอยู่บนคานหาม มาขอให้เทศน์ให้ฟัง อย่าไปเทศน์ เพราะเขายังไม่ให้ความเคารพ ไม่ให้ความเลื่อมใสในพระธรรมเลย พูดไปก็เหมือนเอาธรรมะไปยัดเยียด เมื่อไรลงมาแล้วจึงจะสอนให้ ยกเว้นเขาป่วยพะงาบ ๆจำเป็นต้องหามกันมา อย่างนั้นเทศน์ให้ฟังได้เป็นกรณีพิเศษ เพราะลงมาไม่ไหวแล้ว

ข้อ ๘. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน”

         คนที่อยากรู้ธรรมะแต่ยังนอนไขว่ห้างอยู่ไม่เคารพในธรรม ไม่ใส่ใจพอ แล้วยังมาขอให้เทศน์ให้ฟัง อย่างนี้ไม่สมควรเทศน์ ยกเว้นคนไข้นอนอยู่บนเตียงหรือลุกแล้วจะเกิดอาการเจ็บไข้อย่างนั้นให้นอนฟังเทศน์ได้ หลวงพ่อเองเวลาไปเยี่ยมคนไข้ที่โรงพยาบาล ยืนเทศน์ให้คนไข้ฟังเป็นชั่วโมงก็ยอม แต่ถ้าอยู่ดี ๆ มานอนเอกเขนกขอให้เทศน์ให้ฟัง อย่ามาพูดเลย ไม่ทำ

         เรื่องนี้ขอเตือนไว้ด้วย เล่ากันมาแต่โบราณแล้ว คือ มีโยมคนหนึ่ง แต่เดิมเป็นพระมหาเปรียญหลายประโยค เคยบวชอยู่หลายพรรษา ต่อมาสึกออกไป โยมคนนี้ไม่มีความเคารพในพระธรรม แต่จำธรรมะได้ดี คงเป็นเพราะความไม่เคารพในธรรมนี้เองจึงสึก

         ความที่ยังคุ้นเคยกับวัด ต่อมาก็มาวัดอีก แต่เนื่องจากมีความทะนงตนว่ารู้ธรรมะมากเวลาที่พระบวชใหม่ ๆ ขึ้นเทศน์ แกไม่นั่งฟังเหมือนคนอื่นเสียแล้ว นอนฟังอยู่กลางศาลากระดิกเท้าดิ๊ก ๆ พอละโลกไปแล้ว ด้วยกรรมที่แกไม่มีความเคารพในพระธรรม ตายแล้วไปเกิดเป็นงูเหลือม พวกเราอย่าไปเป็นอย่างนั้นนะ

 

เสขิยวัตร , สารูป , บ่อเกิดของมารยาทไทย , โภชนปฏิสังยุต , ธัมมเทสนาปฏิสังยุต , ปฏิสังยุต , ระเบียบปฏิบัติของพระภิกษุ , เสขิยวัตร หมวดปกิณณ , เสขียวัตรหมวดโภชนปฏิสังยุต , เสขิยวัตร หมวดสารูป , เสขิยวัตร หมวดธัมเทสนาปฎิสังยุต , พระวินัยเบื้องต้น , เสนาสนะ , พระภิกษุ , การครองผ้า , การขบฉัน , สังฆาทิเสส , พระปาฏิโมกข์ , การสวดพิจารณาอาหาร , รู้จักประมาณ , การใช้สรรพนามในหมู่พระ , บิณฑบาต , ปกิณณกะ , มารยาทในการรับประทานอาหาร , พระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อทัตตชีโว , เสขิยวัตร หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (ข้อ ๗ - ๑๖) , หมวดธรรมว่าด้วยมารยาทในการแสดงธรรม , ข้อ ๗ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน” , ข้อ ๘ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน” , ข้อ ๙ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า” , ข้อ ๑๐ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ” , ข้อ ๑๑ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ” , ข้อ ๑๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ” , ข้อ ๑๓ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง” , ข้อ ๑๔ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”  , ข้อ ๑๕ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า” , ข้อ ๑๖ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

ข้อ ๙. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า”

         คนกอดเข่า รัดเข่า คือ คนเจ้าทุกข์ ถ้าจะเทศน์จะสอนอะไร ต้องให้เลิกอาการกอดเข่าเสียก่อน จึงค่อยพูดค่อยสอนกัน ไม่อย่างนั้นไม่ไหวหรอก เสียเวลาเปล่า ใจเขายังไม่เปิดรับ

 

เสขิยวัตร , สารูป , บ่อเกิดของมารยาทไทย , โภชนปฏิสังยุต , ธัมมเทสนาปฏิสังยุต , ปฏิสังยุต , ระเบียบปฏิบัติของพระภิกษุ , เสขิยวัตร หมวดปกิณณ , เสขียวัตรหมวดโภชนปฏิสังยุต , เสขิยวัตร หมวดสารูป , เสขิยวัตร หมวดธัมเทสนาปฎิสังยุต , พระวินัยเบื้องต้น , เสนาสนะ , พระภิกษุ , การครองผ้า , การขบฉัน , สังฆาทิเสส , พระปาฏิโมกข์ , การสวดพิจารณาอาหาร , รู้จักประมาณ , การใช้สรรพนามในหมู่พระ , บิณฑบาต , ปกิณณกะ , มารยาทในการรับประทานอาหาร , พระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อทัตตชีโว , เสขิยวัตร หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (ข้อ ๗ - ๑๖) , หมวดธรรมว่าด้วยมารยาทในการแสดงธรรม , ข้อ ๗ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน” , ข้อ ๘ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน” , ข้อ ๙ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า” , ข้อ ๑๐ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ” , ข้อ ๑๑ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ” , ข้อ ๑๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ” , ข้อ ๑๓ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง” , ข้อ ๑๔ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”  , ข้อ ๑๕ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า” , ข้อ ๑๖ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

ข้อ ๑๐. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ”

         ถ้าเป็นแขกก็พันศีรษะ คนไทยก็สวมหมวกคนที่โพกศรีษะอยู่ ไมเจ็บไข้ได้ป่วยอะไร มาขอให้เทศน์ให้ฟัง อย่าเทศน์

ข้อ ๑๑. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ”

         คนนั่งคลุมโปง ไม่เต็มใจ ไม่พร้อมจะฟัง ป่วยการเทศน์

 

เสขิยวัตร , สารูป , บ่อเกิดของมารยาทไทย , โภชนปฏิสังยุต , ธัมมเทสนาปฏิสังยุต , ปฏิสังยุต , ระเบียบปฏิบัติของพระภิกษุ , เสขิยวัตร หมวดปกิณณ , เสขียวัตรหมวดโภชนปฏิสังยุต , เสขิยวัตร หมวดสารูป , เสขิยวัตร หมวดธัมเทสนาปฎิสังยุต , พระวินัยเบื้องต้น , เสนาสนะ , พระภิกษุ , การครองผ้า , การขบฉัน , สังฆาทิเสส , พระปาฏิโมกข์ , การสวดพิจารณาอาหาร , รู้จักประมาณ , การใช้สรรพนามในหมู่พระ , บิณฑบาต , ปกิณณกะ , มารยาทในการรับประทานอาหาร , พระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อทัตตชีโว , เสขิยวัตร หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (ข้อ ๗ - ๑๖) , หมวดธรรมว่าด้วยมารยาทในการแสดงธรรม , ข้อ ๗ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน” , ข้อ ๘ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน” , ข้อ ๙ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า” , ข้อ ๑๐ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ” , ข้อ ๑๑ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ” , ข้อ ๑๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ” , ข้อ ๑๓ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง” , ข้อ ๑๔ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”  , ข้อ ๑๕ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า” , ข้อ ๑๖ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

ข้อ ๑๒. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ”

         ถ้าคนฟังนั่งอยู่ในที่สูง ปล่อยให้ผู้เทศน์นั่งอยู่ข้างล่าง อย่าเทศน์ ในสมัยโบราณ กษัตริย์จะไปเรียนวิชาสำคัญ ๆ จากยาจก หรือพวกขอทาน (ขอทานบางคนมีความรู้พิเศษหรือมีเวทมนตร์) ยังต้องยอมนั่งอยู่ต่ำกว่า หรืออย่างน้อยต้องสูงเท่ากัน ถ้ากษัตริย์นั่งอยู่ข้างบนบังคับให้เขานั่งสอนอยู่ข้างล่าง เขายอมตายดีกว่า ไม่ยอมสอนเด็ดขาด ถึงสอนให้ก็นำไปใช้ไม่ได้ผล เพราะเกิดความดูถูกครูผู้สอน

         การสอนธรรมะก็เช่นกัน ถ้าเขายังไม่แสดงความเคารพในธรรม ยังถือยศถาบรรดาศักดิ์อยู่ เรียนรู้ไปก็ไม่ศักดิ์สิทธิ์ นำไปใช้ไม่ได้

ข้อ ๑๓. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง”

         แม้ที่สุดแล้ว อย่าว่าแต่ปล่อยให้เรานั่งกับพื้นเลย ต่อให้นั่งเก้าอี้ด้วยกัน ถ้าเก้าอี้เราต่ำกว่า ท่านว่าอย่าไปสอน

 

เสขิยวัตร , สารูป , บ่อเกิดของมารยาทไทย , โภชนปฏิสังยุต , ธัมมเทสนาปฏิสังยุต , ปฏิสังยุต , ระเบียบปฏิบัติของพระภิกษุ , เสขิยวัตร หมวดปกิณณ , เสขียวัตรหมวดโภชนปฏิสังยุต , เสขิยวัตร หมวดสารูป , เสขิยวัตร หมวดธัมเทสนาปฎิสังยุต , พระวินัยเบื้องต้น , เสนาสนะ , พระภิกษุ , การครองผ้า , การขบฉัน , สังฆาทิเสส , พระปาฏิโมกข์ , การสวดพิจารณาอาหาร , รู้จักประมาณ , การใช้สรรพนามในหมู่พระ , บิณฑบาต , ปกิณณกะ , มารยาทในการรับประทานอาหาร , พระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อทัตตชีโว , เสขิยวัตร หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (ข้อ ๗ - ๑๖) , หมวดธรรมว่าด้วยมารยาทในการแสดงธรรม , ข้อ ๗ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน” , ข้อ ๘ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน” , ข้อ ๙ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า” , ข้อ ๑๐ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ” , ข้อ ๑๑ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ” , ข้อ ๑๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ” , ข้อ ๑๓ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง” , ข้อ ๑๔ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”  , ข้อ ๑๕ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า” , ข้อ ๑๖ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

ข้อ ๑๔. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”

         ถ้าจะฟังเทศน์ทั้งที่ปล่อยให้เรายืนเทศน์แล้วเขานั่งฟัง แต่โบราณมาแล้วท่านไม่ยอม มาบัดนี้เรามีธรรมเนียมใหม่เกิดขึ้น เพราะมีความสะดวกกว่า เช่น การแสดงปาฐกถาธรรมต่าง ๆ ผู้แสดงธรรมมักนิยมยืน เพราะเวลาอธิบายหรือยกตัวอย่างอะไรก็ค่อนข้างคล่องตัวอย่างนี้สมควรยกเว้น

         ผู้ที่บุกเบิกในเรื่องนี้ คือ ท่านปัญญานันทภิกขุ เมื่อเริ่มใหม่ ๆ ถูกวิพากษ์วิจารณ์มากเพราะผิดพระวินัย แต่ตอนหลังกลับกลายเป็นอนุโลมไป ในกรณีที่คนฟังนั่ง พระจะยืนเทศน์ก็ไม่ผิดอะไร

 

เสขิยวัตร , สารูป , บ่อเกิดของมารยาทไทย , โภชนปฏิสังยุต , ธัมมเทสนาปฏิสังยุต , ปฏิสังยุต , ระเบียบปฏิบัติของพระภิกษุ , เสขิยวัตร หมวดปกิณณ , เสขียวัตรหมวดโภชนปฏิสังยุต , เสขิยวัตร หมวดสารูป , เสขิยวัตร หมวดธัมเทสนาปฎิสังยุต , พระวินัยเบื้องต้น , เสนาสนะ , พระภิกษุ , การครองผ้า , การขบฉัน , สังฆาทิเสส , พระปาฏิโมกข์ , การสวดพิจารณาอาหาร , รู้จักประมาณ , การใช้สรรพนามในหมู่พระ , บิณฑบาต , ปกิณณกะ , มารยาทในการรับประทานอาหาร , พระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อทัตตชีโว , เสขิยวัตร หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (ข้อ ๗ - ๑๖) , หมวดธรรมว่าด้วยมารยาทในการแสดงธรรม , ข้อ ๗ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน” , ข้อ ๘ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน” , ข้อ ๙ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า” , ข้อ ๑๐ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ” , ข้อ ๑๑ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ” , ข้อ ๑๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ” , ข้อ ๑๓ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง” , ข้อ ๑๔ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”  , ข้อ ๑๕ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า” , ข้อ ๑๖ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

ข้อ ๑๕. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า”

         ถ้าผู้ฟังเดินข้างหน้า ผู้แสดงธรรมเดินตามหลัง อย่างนี้อย่าเทศน์อย่าสอนกันเลยเพราะเขายังไม่อยู่ในสภาพที่พร้อมจะฟัง

         ขอฝากไว้อีกอย่างหนึ่งด้วย เรื่องการเดินเวลาเดินกับผู้ใหญ่หรือพระสงฆ์ มีข้อแม้อยู่นิดหนึ่งที่เป็นธรรมเนียมของไทย คือ ทุกอย่างเริ่มต้นจากทางขวามือ มีทางขวาเป็นใหญ่ เวลาผู้ใหญ่เดิน เราเป็นผู้น้อยอย่าไปเดินอยู่ข้างขวาของผู้ใหญ่ จะกลายเป็นว่าเราใหญ่กว่าท่านยกเว้นบางกรณี เช่น จำเป็นต้องเดินนำทาง

         เวลาต้อนรับพระผู้ใหญ่ แม้เป็นพระภิกษุด้วยกันพอเข้าไปกราบท่านเสร็จแล้ว พอท่านเดินนำหน้า พระภิกษุที่ตามมาต้องเดินอยู่ทางซ้ายมือท่าน ยกเว้นเวลาเดินเป็นขบวนต้องทำตามที่เขากำหนด เวลาอยู่ในที่ทำงานก็เหมือนกันเราต้องอยู่ทางซ้ายมือของท่าน เวลาท่านจะหยิบอะไรส่งให้ก็สะดวก

 

เสขิยวัตร , สารูป , บ่อเกิดของมารยาทไทย , โภชนปฏิสังยุต , ธัมมเทสนาปฏิสังยุต , ปฏิสังยุต , ระเบียบปฏิบัติของพระภิกษุ , เสขิยวัตร หมวดปกิณณ , เสขียวัตรหมวดโภชนปฏิสังยุต , เสขิยวัตร หมวดสารูป , เสขิยวัตร หมวดธัมเทสนาปฎิสังยุต , พระวินัยเบื้องต้น , เสนาสนะ , พระภิกษุ , การครองผ้า , การขบฉัน , สังฆาทิเสส , พระปาฏิโมกข์ , การสวดพิจารณาอาหาร , รู้จักประมาณ , การใช้สรรพนามในหมู่พระ , บิณฑบาต , ปกิณณกะ , มารยาทในการรับประทานอาหาร , พระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อทัตตชีโว , เสขิยวัตร หมวดที่ ๓ ธัมมเทสนาปฏิสังยุต (ข้อ ๗ - ๑๖) , หมวดธรรมว่าด้วยมารยาทในการแสดงธรรม , ข้อ ๗ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ไปในยาน” , ข้อ ๘ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้อยู่บนที่นอน” , ข้อ ๙ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งรัดเข่า” , ข้อ ๑๐ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้พันศีรษะ” , ข้อ ๑๑ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้คลุมศีรษะ” , ข้อ ๑๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งอยู่บนแผ่นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะ” , ข้อ ๑๓ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรานั่งบนอาสนะต่ำจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้นั่งบนอาสนะสูง” , ข้อ ๑๔ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรายืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นั่งอยู่”  , ข้อ ๑๕ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้เดินไปข้างหน้า” , ข้อ ๑๖ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

ข้อ ๑๖. “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราเดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้ไปในทาง”

         ทาง ในที่นี้หมายถึง ทางเท้า ถ้าฆราวาสเดินในทางเท้า ปล่อยให้พระเดินในที่รก ๆ แล้วจะให้เทศน์ให้ฟัง อย่างนี้ไม่สมควรทำ เพราะเขาไม่ให้ความเคารพหรือไม่ให้ความสำคัญในพระธรรม ถ้าเป็นอย่างนี้เราเทศน์ก็เหนื่อยเปล่า ดีไม่ดีจะกลายเป็นเราดูถูกพระธรรมอีกด้วย

 

 

พระธรรมเทศนา โดยหลวงพ่อทัตตชีโว

 

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.040078298250834 Mins