เป็นหมวดธรรมหมวดสุดท้ายว่าด้วยการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ของพระภิกษุ แม้ฆราวาสก็เอามาปรับใช้ได้ มีทั้งหมด ๓ ข้อ
...อ่านต่อ
ยาน ในที่นี้หมายถึง คานหาม ถ้าเรายืนอยู่แล้วเขานั่งอยู่บนคานหาม มาขอให้เทศน์ให้ฟัง อย่าไปเทศน์ เพราะเขายังไม่ให้ความเคารพ
...อ่านต่อ
เป็นเรื่องของการรู้จักกาลเทศะในการตักเตือนคนหรือเทศนาสั่งสอนใครให้เขารับได้ไม่ใช่นึกอยากจะพูดธรรมะก็พูดเรื่อยไป
...อ่านต่อ
หลาย ๆ คนยังเคี้ยวข้าว เคี้ยวกับข้าวไม่เป็น ได้ยินอยู่บ่อย ๆ เช่น พวกหนึ่งเคี้ยวข้าวแล้วอ้าปากจึงมีเสียงดังจับ ๆ เหมือนหมู
...อ่านต่อ
คนรุ่นก่อน ๆ กินข้าวกันด้วยมือ เขาไม่มีช้อนใช้กัน บางคนเวลาเปิบข้าวเขาหยิบได้พอดีคำ
...อ่านต่อ
บางคนมีนิสัยแปลก ๆ จะตักจะกินอะไรชอบเจาะตรงกลางก่อน ตักข้าวหรือกับข้าวในจาน ก็เจาะควักตรงกลางแบบเดียวกัน
...อ่านต่อ
อาหารที่บิณฑบาตได้มา ไม่ว่าจะเป็นของคนจนหรือคนรวย ประณีตหรือไม่ประณีต ท่านให้ฉันโดยไม่เลือก
...อ่านต่อ
ความรู้จักประมาณในเรื่องอาหารการกินหรือโภชเนมัตตัญญุตานี้ ไม่ว่าพระหรือคน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงย้ำเตือนไว้นักหนา
...อ่านต่อ
ข้อนี้ ท่านห้ามไม่ให้แลดูหน้าญาติโยมที่มาตักบาตร แม้แลเหม่อไปทางอื่นก็ไม่ควร เวลาออกบิณฑบาตต้องสำรวมอยู่ตลอดเวลา
...อ่านต่อ
ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ เคารพในบุคคลผู้ให้ และเคารพในของที่เขาให้
...อ่านต่อ
ตามธรรมดาพระภิกษุเวลาเข้าไปในบ้านใครก็ตาม พระวินัยกำหนดให้ห่มคลุม
...อ่านต่อ
เมื่อออกจากวัดต้องห่มคลุมให้เรียบร้อย อากาศจะร้อนจะหนาวอย่างไรก็ต้องอดทน เพื่อยังความเลื่อมใสให้เกิดขึ้นทุกขณะ
...อ่านต่อ
การแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งการนุ่งห่มของพระภิกษุ
...อ่านต่อ
"เสขิยวัตร" ว่าด้วยมารยาทอันงดงามของพระภิกษุ ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงนำมาจากมารยาทของกษัตริย์
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล