บทสวดแจง พระวินัย

วันที่ 14 มิย. พ.ศ.2557

บทสวดแจง พระวินัย

บทสวดแจง พระวินัย พระสูตร พระอภิธรรม (๗ คัมภีร์)

 

 

พระวินัย

             ยันเตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ ปะฐะมัง ปาราชิกัง กัตถะ ปัญญัตตันติฯ เวสาลิยัง ปัญญัตตันติฯกังอารัพภาติฯ สุทินนังกะลันทะปุตตัง อารัพภาติฯ กัส๎มิง วัตถุส๎มินติฯ สุทินโน กะลันทะปุตโต ปุราณะทุติยิกายะ เมถุนัง ธัมมัง ปะฏิเสวิตัส๎มิง วัตถุส๎มินติฯ

            เตนะ สะมะเยนะ พุทโธ ภะคะวา เวรัญชายัง วิหะระตินะ เฬรุปุจิมันทะมูเล มะหะตา ภิกขุสังเฆนะ สัทธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิฯ

            อัสโสสิโขเวรัญโช พราหมะโณ สะมะโณ ขะลุโภ โคตะโม สัก๎ยะปุตโต สัก๎ยะกุลา ปัพพะชิโต เวรัญชายัง วิหะระตินะ เฬรุปุจิมันทะมูเล มะหะตา ภิกขุสังเฆนะ สัทธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ

            ตังโข ปะนะ ภะวันตัง โคตะมัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิสัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

            โส อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทติโส ธัมมัง เทเสติอาทิกัล๎ยาณัง มัชเฌกัล๎ยาณัง ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง ปะกาเสติฯ

            สาธุโข ปะนะตะถารูปานังอะระหะตัง ทัสสะนังโหตีติ


พระสูตร

             เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา อันตะรา จะ ราชะคะหังอันตะราจะ นาลันทังอัทธานะมัคคะปะฏิปันโน โหติ มะหะตา ภิกขุสังเฆนะ สัทธิง ปัญจะมัตเตหิภิกขุสะเตหิฯ สุปปิโยปิโข ปะริพพาชะโกอันตะราจะราชะคะหังอันตะราจะ นาลันทัง อัทธานะมัคคะปะฏิปันโน โหติสัทธิง อันเตวาสินา พรัหมะทัตเตนะ มาณะเวนะฯตัต๎ระ สุทัง สุปปิโย ปะริพพาชะโก อะเนกะปะริยาเยนะ พุทธัสสะ อะวัณณัง ภาสะติธัมมัสสะ อะวัณณัง ภาสะติสังฆัสะ อะวัณณัง ภาสะติฯ สุปปิยัสสะ ปะนะ ปะริพพาชะกัสสะ อันเตวาสีพรัหมะทัตโต มาณะโว อะเนกะปะริยาเยนะ พุทธัสสะ วัณณัง ภาสะติธัมมัสสะ วัณณัง ภาสะติ สังฆัสสะ วัณณัง ภาสะติ ฯ อิติหะ เต อุโภ อาจะริยันเตวาสี อัญญะมัญญัสสะ อุชุวิปัจจะนิกะวาทา ภะคะวันตัง ปิฏฐิโต ปิฏฐิโตอะนุพันธาโหนติภิกขุสังฆัญจะ 


พระอภิธรรม (๗ คัมภีร์)

๑. พระสังคิณี
            กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมาฯ กะตะเม ธัมมา กุสะลา ฯ ยัสมิง สะมะเย กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติโสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา คันธารัมมะณัง วา ระสารัมมะณัง วา โผฏฐัพพารัมมะณัง วา ธัมมารัมมะณัง วา ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ ตัสมิง สะมะเย ผัสโส โหติอะวิกเขโป โหติ เย วา ปะนะ ตัสมิง สะมะเย อัญเญปิอัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา อะรูปิโน ธัมมา อิเม ธัมมา กุสะลา

๒. พระวิภังค์
           ปัญจักขันธา รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ ฯ ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ ฯ ยังกิญจิรูปัง อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยัง ทูเร วา สันติเก วา ตะเทกัชฌัง อะภิสัญญูหิตวา อะภิสังขิปิตวา อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ

๓. พระธาตุกะถา
          สังคะโห อะสังคะโห ฯ สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง ฯ สัมปะโยโค วิปปะโยโค สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง อะสังคะหิตัง

๔. พระปุคคะละปัญญัตติ
         ฉะ ปัญญัตติโย ขันธะปัญญัตติ อายะตะนะปัญญัตติ ธาตุปัญญัตติ สัจจะปัญญัตติ อินทริยะปัญญัตติ ปุคคะละปัญญัตติฯกิตตาวะตา ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติฯ สะมะยะวิมุตโต อะสะมะยะวิมุตโต กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม เจตะนาภัพโพ อะนุรักขะนาภัพโพ ปุถุชชะโน โคตระภู ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน นิยะโต อะนิยะโต ปะฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต อะระหา อะระหัตตายะ ปะฏิปันโน

๕. พระกะถาวัตถุ
         ปุคคะโลอุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ อามันตา ฯ โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติฯ นะ เหวัง วัตตัพเพ ฯ อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิปุคคะโล อุปะลัพภะติสัจฉิกัตถะปะระมัตเถนะ เตนะ วะตะ เร วัตตัพเพ โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโลอุปะลัพภะติสัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติฯ มิจฉา

๖. พระยะมะกะ
         เย เกจิกุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูลา ฯ เย วา ปะนะ กุสะละมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา ฯ เย เกจิกุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา ฯ เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา

๗. พระมะหาปัฏฐาน
        เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อะธิปะติปัจจะโย อะนันตะระปัจจะโย สะมะนันตะระปัจจะโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสสะยะปัจจะโย อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย กัมมะปัจจะโย วิปากะปัจจะโย  อาหาระปัจจะโย อินทริยะปัจจะโย ฌานะปัจจะโย  มัคคะปัจจะโย  สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย อะวิคะตะปัจจะโย

 

 

คำแปล บทสวดแจงพระวินัย    

ถามว่า : พระผู้มีพระภาคเจ้าอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น  ทรงบัญญัติปฐมปาราชิก ณ.ที่ไหน

ตอบว่า : ณ กรุงเวสาลี

***********************  

ถามว่า : ทรงปรารภถึงใคร

ตอบว่า : ทรางปรารภถึงพระสุทิน กลันทบุตร

***********************  

ถามว่า : ในเพราะเรื่องอะไร

ตอบว่า : ในเพราะเรื่องที่พระสุทิน กลันทบุตร เสพเมถุนธรรมกับภรรยาตน             

     สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จประทับ ณ โคนต้นสะเดาที่นเรฬุยักษ์สิงอยู่  พร้อมกับหมู่ภิกษุมาก  ประมาณ ๕๐๐ รูป  เวรัญชพราหมณ์ได้สดับแล้วว่า  ข่าวว่าพระสมณโคดมศากยบุตร  เสด็จออกผนวชจากศากยะสกุล  ประทับ ณ โคนต้นสะเดาที่เรฬุยักษ์สิงอยู่ กับหมู่ภิกษุมาก  ประมาณ ๕ ๐๐ รูป 

     ก็กิตติศัพท์อันงดงาม  ของพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้โตตะมะ  ฟุ้งขจรไปดังนี้ว่า  แม้เพราะเหตุนี้  พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น  เป็นพระอรหันต์ (ผู้ไกลจากกิเลส)  ตรัสรู้เองโดยชอบ  มีความรู้และความประพฤติเพรียบพร้อม  เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว  ผู้รู้จักโลก เป็นสารถีฝึกคนที่ควรฝึกได้ชั้นยอด  เป็นศาสดาของเหล่าเทวดาและมวลมนุษย์ผู้ตื่น เป็นผู้มีโชค ดังนี้              

    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์องค์นั้น  กระทำให้แจ้งด้วยพระปัญญาอันยิ่งแล้ว  สอนโลกนี้ กับทั้งเทวดา  มาร พรหม  หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพรหมณ์  และเทวดามนุษย์ให้รู้ตาม  พระองค์นั้น  ทรงแสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น  ไพเราะในท่ามกลาง ไพเราะในเวลาจบ  ทรงประกาศพรหมจรรย์  พร้อมทั้งอรรถ  พยัญชนะ  บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง  ก็การได้ทัศนาเหล่าพระอรหันต์ผู้เป็นเช่นนั้นเป็นการดีแล

 


** อ้างอิงจากหนังสือ มนต์วิธานและศาสนพิธี **
เหมาะสําหรับภิกษุผู้นวกะพระเถระและพุทธศาสนิกชนผู้สนใจทั่วไป

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.039046800136566 Mins