Toggle navigation
เมนูทั้งหมด
หน้าแรก
สื่อธรรมะ
หนังสือ
เสียงธรรมะ MP3
วีดีโอ ธรรมะ VDO
คลิปดีๆให้กำลังใจจากยูทูป
รวมการ์ตูน นิทาน
นิทานชาดก
ชาดก 500 ชาติ
นิทานอีสป
การ์ตูนเด็กดี
การ์ตูนบุญโตหมูเพื่อนซี้
มงคลชีวิต 38 ประการ
คำสอนพระพุทธเจ้า
ข่าว
ข่าวประชาสัมพันธ์
สรุปข่าวเด่นประจำเดือน
ชี้แจ้งข้อแท้จริงวัดพระธรรมกาย
Gallery ภาพทบทวนบุญ
รวมแอพพลิเคชั่นธรรมะฟรี
บทความ
บทความประจำวัน
หลวงพ่อทัตตชีโว
หลักการใช้ชีวิต จิตใจ ธรรมะ
รวมพระธรรมเทศนา หลวงพ่อวัดปากน้ำ
รวมคำสอนยายอาจารย์ จันทร์
บทสวดมนต์ คำกล่าวต่างๆ
อยู่ในบุญ
พระของขวัญ
วัฒนธรรมชาวพุทธ
DOU ความรู้พระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาตนเอง
ปกิณกะ
อานุภาพพระมหาสิริ
บุคคลตัวอย่าง
เส้นทางมาวัด/จุดออกรถ/ปฏิบัติธรรม
สมัครข่าวสารธรรมะ
กัลยาณมิตรaboutus
Download Wallpaper
White Board
บริการสื่อธรรมะ
DOU ความรู้พระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาตนเอง
หน้าหลัก
DOU ความรู้พระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาตนเอง
เเบบเรียนพระไตรปิฎกศึกษา ชั้นเอก
หน้าที่: 1 จากทั้งหมด 2  
1
2
บทสรุปคัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์
ความหมายของการปฏิรูปมนุษย์ สามารถสรุปได้ ๒ นัย คือ ๑. การเปลี่ยนมิจฉาทิฏฐิของผู้ใหญ่ หรือเยาวชนที่เจริญเติบโตให้เป็นสัมมาทิฏฐิ ๒. การปลูกฝังสัมมาทิฏฐิลงในจิตใจของเด็ก ๆ ตั้งแต่ยังเป็นทารก
...อ่านต่อ
กุญแจไขความสำเร็จของทิศ ๖
บุคคลผู้มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตของเราก็คือ ทิศ ๖ เพราะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนิสัย ทั้งที่เป็นมิจฉาทิฏฐิและสัมมาทิฏฐิ การปลูกฝังสัมมาทิฏฐิจึงมีความสำคัญที่ต้องทำตั้งแต่วัยเด็ก เพื่อป้องกัน ควบคุมกิเลสที่มีอยู่ในใจไม่ให้เติบโตกลายเป็นมิจฉาทิฏฐิเข้าไปตั้งมั่นในใจของเด็กเสียก่อน จึงแบ่งการปฏิรูปมนุษย์เพื่อปลูกฝังสัมมาทิฏฐิไว้ ๒ วัย คือ
...อ่านต่อ
ผู้ลิขิตชีวิตคนดีที่โลกต้องการ
บุคคลที่จะมีคุณสมบัติเป็นคนดีที่โลกต้องการได้ ก็เพราะมีสัมมาทิฏฐิเข้าไปอยู่ในใจอย่างมั่นคงจนกลายเป็นลักษณะนิสัยประจำตัวเอง สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องได้รับการปลูกฝังอย่างเป็นแบบแผน เพราะไม่สามารถทำให้เกิดขึ้นได้เอง และหากไม่ปลูกฝังสัมมาทิฏฐิลงไปในใจแล้วย่อมมีโอกาสที่มิจฉาทิฏฐิอันเป็นต้นทางนำไปสู่การคิด การพูด และการกระทำอันเป็นบาปอกุศลเกิดขึ้นได้โดยง่าย
...อ่านต่อ
ความยั่งยืนแห่งคุณสมบัติของคนดี
จากสัมมาทิฏฐิทั้ง ๑๐ ประการนี้เองทำให้ทราบว่า คนเราเกิดมาเพื่อสร้างความดีสร้างบุญบารมีไม่ทำความชั่ว จึงจะประสบแต่ความสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า และหากทุ่มเททำความดี สั่งสมบุญบารมีโดยเอาชีวิตเป็นเดิมพัน เพื่อกำจัดกิเลสอาสวะให้หมดไป ก็จะบรรลุมรรคผลนิพพาน
...อ่านต่อ
คุณสมบัติของคนดีที่โลกต้องการ
ความเข้าใจของคน ๒ ระดับ • ระดับพื้นผิว (ทั่วไป) เป็นความเข้าใจโดยทั่วไปเกี่ยวกับด้านกายภาพ และวัตถุต่าง ๆ มีผลทางด้านจิตใจเพียงเล็กน้อยน้อยถ้าเข้าใจถูกต้องก็ไม่มีผลให้คนเราได้ขึ้นสวรรค์ ถ้าเข้าใจผิดก็ไม่ตกนรก • ระดับลึก (สัมมาทิฏฐิ ๑๐) เป็นความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องโลกและความเป็นไปของชีวิต เป็นความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องกฎแห่งกรรม บุญและบาป มีผลต่อจิตใจมาก ถ้าเข้าใจถูกต้องก็มีโอกาสไปบังเกิดบนสวรรค์ ถ้าเข้าใจผิดก็มีโอกาสตกนรก
...อ่านต่อ
บทที่ ๕ คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์
สามารถอธิบายความหมายและสาระสำคัญของการปฏิรูปมนุษย์ได้ มีความรู้ความเข้าใจ สามารถอธิบายความสำคัญของสัมมาทิฐิและมิจฉาทิฐิทั้ง ๑๐ ประการที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปมนุษย์ สามารถอธิบายหลักและวิธีการในการปลูกฝังอบรมคนดีที่โลกต้องการได้ สามารถอธิบายถึงความสำคัญของทิศ 5 ที่ส่งผลต่อการปฏิรูปมนุษย์ได้
...อ่านต่อ
อบายมุข ๖
อริยสาวกไม่เสพทางเสื่อมแห่งโภคะ ๖ เป็นไฉน ดูก่อนคฤหบดีบุตร
...อ่านต่อ
บทที่ ๔ สิงคาลกสูตร
สามารถสรุปหลักธรรมสำคัญที่มีในสิงคาลกสูตรได้ สามารถอธิบายเรื่อง กรรมอันลามก ๑๔ ประการ, มิตรแท้ - มิตรเทียม, ทิศ 5 ได้ สามารถอธิบายแนวทางและวิธีการนำสิงคาลกสูตรไปใช้แก้ไขตนเองได้
...อ่านต่อ
พราหมณ์กูฏทันตะประกาศตนเป็นอุบาสก
เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้ พราหมณ์กูฏทันตะได้กราบทูลว่า “ข้าแต่ท่านพระโคดม ภาษิตของท่านพระโคดมชัดเจนไพเราะยิ่งนัก ข้าแต่ท่านพระโคดมภาษิตของท่านพระโคดมชัดเจนไพเราะยิ่งนัก ท่านพระโคดมทรงประกาศธรรมแจ่มแจ้งโดยประการต่าง ๆ เปรียบเหมือนบุคคลหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่ผู้หลงทางหรือตามประทีปในที่มืดโดยตั้งใจว่า คนมีตาดีจักเห็นรูปได้
...อ่านต่อ
ยัญของพระเจ้ามหาวิชิตราช
ต่อมา พราหมณ์กฏทันตะพร้อมด้วยคณะพราหมณ์หมู่ใหญ่พากันเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคที่สวนอัมพลัฏฐิกา ได้สนทนากับพระผู้มีพระภาค ครั้นสนทนาพอคุ้นเคยดีแล้วจึงนั่งลง ณ ที่สมควร ฝ่ายพราหมณ์และคหบดีชาวบ้านขามัต บางพวกกราบพระผู้มีพระภาคบางพวกสนทนา บางพวกไหว้ไปทางพระผู้มีพระภาค บางพวกประกาศชื่อและตระกูลบางพวกนิ่งเฉย แล้วนั่ง ณ ที่สมควร
...อ่านต่อ
ว่าด้วยพราหมณ์ชื่อ กูฏทันตะ
สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกโปในแคว้นมคธพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ประมาณ ๕๐๐ รูป เสด็จถึงหมู่บ้านพราหมณ์ชาวมคธชื่อขาณุมัต ประทับอยู่ในสวนอัมพลัฏฐิกา ใกล้หมู่บ้านขาณุมัต สมัยนั้น พราหมณ์กูฏทันตะปกครองหมู่บ้านขาณุมัต ซึงมีประชากรและสัตว์เลี้ยงมากมาย มีพืชพันธุธัญญาหารและนั้าหญ้าอุดมสมบูรณ์เป็นพระราชทรัพย์ที่พระเจ้าพิมพิสารจอมทัพมคธพระราชทานปูนบำเหน็จให้เป็นพรหมไทย (ส่วนพิเศษ)
...อ่านต่อ
บทที่ ๓ กูฏทันตสูตร
เพื่อให้ทราบถึงการบูชายัญหรือการให้ทานที่ถูกต้องตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา เพื่อลบล้างความเชื่อผิด ๆ แก่ผู้นำประเทศ และพัฒนาจิตใจของประชาชนด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา
...อ่านต่อ
พระปัจฉิมวาจาของพระตถาคต
ต่อมา พระผู้มีพระภาครับสั่งเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสว่า “อานนท์บางทีพวกเธออาจจะคิดว่า “ปาพจน์มีพระศาสดาล่วงลับไปแล้ว พวกเราไม่มีพระศาสดา” ข้อนี้พวกเธอ ไม่พึงเห็นอย่างนั้น ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้วบัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย หลังจากเราล่วงลับไป ก็จะเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย
...อ่านต่อ
ทรงแสดงมหาสุทัสสนสูตร
เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว ท่านพระอานนท์ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคอย่าได้ปรินิพพานในเมืองเล็ก เมืองดอน เมืองกิ่งเช่นนี้ เมืองใหญ่เหล่าอื่นยังมีอยู่ เช่น กรุงจัมปากรุงราชคฤห์ กรุงสาวัตถี
...อ่านต่อ
เสด็จไปยังควงไม้สาละทั้งคู่
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสว่า “มาเถิด อานนท์ เราจะข้ามไปยังฝั่งโน้นแห่งแม่น้ำหิรัญญวดี ตรงสาลวันของพวกเจ้ามัลละอันเป็นทางเข้ากรุงกุสินารากัน” ท่านพระอานนท์ทูลรับสนองพระดำรัสแล้ว
...อ่านต่อ
การทอดพระเนตรกรุงเวสาลีอย่างช้างมอง
ครั้นในเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวร เสด็จเข้าไปยังกรุงเวสาลีเพื่อบิณฑบาต เมื่อเสด็จกลับจากบิณฑบาต ภายหลังเสวยพระกระยาหารเสร็จแล้ว ทอดพระเนตรกรุงเวสาลีอย่างช้างมอง” รับสั่งเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสว่า “อานนท์ การเห็นกรุงเวสาลีครั้งนี้ เป็นครั้งสุดท้ายของตถาคต มาเถิด อานนท์ เราจะเข้าไปยังภัณฑุคามกัน”
...อ่านต่อ
ทรงเล่าเรื่องมาร
อานนท์ สมัยหนึ่ง เมื่อแรกตรัสรู้ เราพักอยู่ที่ต้นอชปาลนิโครธใกล้ฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ที่ตำาบลอุรุเวลา มารผู้มีบาปได้เข้ามาหาเรา ยืน ณ ที่สมควรได้กล่าวกับเราดังนี้ว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคโปรดปรินิพพานในบัดนี้ ขอพระสุคตโปรดปรินิพพานเถิด เวลานี้เป็นเวลาปรินิพพานของพระผู้มีพระภาค
...อ่านต่อ
ว่าด้วยนิมิตโอภาส
ครั้นในเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสกถือบาตรและจีวร เสด็จเข้าไปยังกรุงเวสาลีเพื่อบิณฑบาต เมื่อเสด็จกลับจากบิณฑบาต ภายหลังเสวยพระกระยาหารเสร็จแล้ว รับสั่งเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสว่า “อานนท์ เธอจงถือผ้านิสีทนะ (ผ้าปูรองนั่ง) เราจะเข้าไปพักกลางวันทีปาวาลเจดีย์”
...อ่านต่อ
อริยสัจ ๔ ประการ
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสว่า “มาเถิด อานนท์ เราจะเข้าไปยังโกฏิตามกัน” ท่านพระอานนท์ทูลรับสนองพระดำรัสแล้วพระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่เสด็จถึงโกฏิคาม ประทับอยู่ที่โกฏิคามนั้นรับสั่งเรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า
...อ่านต่อ
การสร้างเมืองปาฏลีบุตร
สมัยนั้น มหาอำมาตย์สุนีธะและมหาอำมาตย์วัสสการะชาวแคว้นมคธ สร้างเมืองในปาฏลิคาม เพื่อป้องกันพวกเจ้าวัชรี เทวดาจำนวนมากจับจองที่เป็นพัน ๆ แห่งในปาฏลิคามจิตของพระราชาและราชมหาอำมาตย์ที่มีศักดิ์ใหญ่ ย่อมน้อมไปเพื่อจะสร้างนิเวศน์ในที่ที่เทวดาผู้มีศักดิ์ใหญ่จับจอง
...อ่านต่อ
โทษของคนทุศีล ๕ ประการ
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ตามความพอพระทัย ในเมืองนาฟันทา รับสั่งเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสว่า “มาเถิด อานนท์ เราจะเข้าไปยังปาฏลิคามกัน”
...อ่านต่อ
หน้าที่: 1 จากทั้งหมด 2  
1
2
สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร
**บทความ แนะนำ/เกี่ยวข้อง
การเผยแผ่ในยุคบุกเบิก
ศูนย์กลางในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ทรงวางรากฐานองค์กรพระพุทธศาสนา
อริยสัจ ๔ ประการ
ว่าด้วยนิมิตโอภาส
ทรงแสดงมหาสุทัสสนสูตร
บทที่ ๓ กูฏทันตสูตร
ยัญของพระเจ้ามหาวิชิตราช
ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล