อิเม โข ปนายสฺมนฺโต เทฺว อนิยตา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. /
๑. โย ปน ภิกฺขุ มาตุคาเมน สทฺธึ เอโก เอกาย รโห / ปฏิจฺฉนฺเน อาสเน อลํกมฺมนิเย นิสชฺชํ กปฺเปยฺย; /
ตเมนํ สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา ทิสฺวา ติณฺณํ ธมฺมานํ อญฺญตเรน วเทยฺย / ปาราชิเกน วา สงฺฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา, / นิสชฺชํ ภิกฺขุ ปฏิชานมาโน ติณฺณํ ธมฺมานํ อญฺญตเรน กาเรตพฺโพ / ปาราชิเกน วา สงฺฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา; / เยน วา สา สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา วเทยฺย, / เตน โส ภิกฺขุ กาเรตพฺโพ; อยํ ธมฺโม อนิยโต. /
๒. น เหว โข ปน ปฏิจฺฉนฺนํ อาสนํ โหติ นาลํกมฺมนิยํ, / อลญฺจ โข โหติ มาตุคามํ ทุฏฐุลฺลาหิ วาจาหิ โอภาสิตุ; / โย ปน ภิกฺขุ ตถารูเป อาสเน มาตุคาเมน สทฺธึ / เอโก เอกาย รโห นิสชฺชํ กปฺเปยฺย; /
ตเมนํ สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา ทิสฺวา ทฺวินฺนํ ธมฺมานํ อญฺญตเรน วเทยฺย / สงฺฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา, / นิสชฺชํ ภิกฺขุ ปฏิชานมาโน ทฺวินฺนํ ธมฺมานํ อญฺญตเรน กาเรตพฺโพ / สงฺฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา, / เยน วา สา สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา วเทยฺย, / เตน โส ภิกฺขุ กาเรตพฺโพ; อยมฺปิ ธมฺโม อนิยโต. /
อุทฺทิฏฺฐา โข อายสฺมนฺโต เทฺว อนิยตา ธมฺมา. /
ตตฺถายสฺมนฺเต ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /
ทุติยมฺปิ ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /
ตติยมฺปิ ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /
ปริสุทฺเธตฺถายสฺมนฺโต; ตสฺมา ตุณฺหี, / เอวเมตํ ธารยามิ.
อนิยตุทฺเทโส นิฏฺฐิโต. /
คำแปล ความหมาย บทสวดพระปาฏิโมกข์ อนิยตุทฺเทโส
อิเม โข ปนายสฺมนฺโต เทฺว อนิยตา | ท่านทั้งหลายธรรมชื่ออนิยต๒เหล่านี้ |
ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. | แลย่อมมาสู่อุทเทส. |
๑. โย ปน ภิกฺขุ มาตุคาเมน สทฺธึ | ๑. อนึ่ง ภิกษุใดผู้เดียวสําเร็จการนั่งใน |
เอโก เอกาย รโห ปฏิจฺฉนฺเน อาสเน | ที่ลับ คือในอาสนะกําบัง พอจะทําการได้ |
อลํกมฺมนิเย นิสชฺชํ กปฺเปยฺย; | กับมาตุคามผู้เดียว. |
ตเมนํ สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา ทิสฺวา | อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้เห็นภิกษุกับมาตุคาม |
ติณฺณํ ธมฺมานํ อญฺญตเรน วเทยฺย | นั้นนั่นเทียว พูดขึ้ด้วยธรรม๓ประการ |
ปาราชิเกน วา สงฺฆาทิเสเสน วา | อย่างใดอย่างหนึ่งคือด้วยปาราชิกก็ดีด้วย |
ปาจิตฺติเยน วา, | ด้วยปาจิตตีย์ก็ดี |
นิสชฺชํ ภิกฺขุ ปฏิชานมาโน ติณฺณํ ธมฺมานํ | ภิกษุปฏิญญาซึ่งการนั่ง พึงถูกปรับด้วย |
อญฺญตเรน กาเรตพฺโพ ปาราชิเกน วา | ธรรม ๓ ประการคือด้วยปาราชิกบ้างด้วย |
สงฺฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา; | สังฆาทิเสสบ้างด้วยปาจิตตีย์บ้าง |
เยน วา สา สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา | อีกอย่างหนึ่งอุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้นั้น |
วเทยฺย, เตน โส ภิกฺขุ กาเรตพฺโพ; | กล่าวด้วยธรรมใด ภิกษุนั้นพึงถูกปรับด้วย ธรรมนั้น |
อยํ ธมฺโม อนิยโต. | นี้ธรรมชื่ออนิยต |
๒. น เหว โข ปน ปฏิจฺฉนฺนํ อาสนํ | ๒. อนึ่งสถานหาเป็นอาสนะกําบังไม่ |
โหติ นาลํกมฺมนิยํ, | เลยทีเดียว หาเป็นที่พอจะทําการได้ไม่ |
อลญฺจ โข โหติ มาตุคามํ ทุฏฐุลฺลาหิ | แต่พอเป็นที่จะพูดเคาะมาตุคาม ด้วยวาจา |
วาจาหิ โอภาสิตุ; | ชั่วหยาบได้อยู่ |
โย ปน ภิกฺขุ ตถารูเป อาสเน มาตุคาเมน | และภิกษุใดผู้เดียว สําเร็จการนั่งในที่ลับกับ |
สทฺธึ เอโก เอกาย รโห นิสชฺชํ กปฺเปยฺย; | ด้วยมาตุคามผู้เดียวในอาสนะมีรูปอย่างนั้น |
ตเมนํ สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา ทิสฺวา | อุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้เห็นภิกษุกับมาตุคาม |
ทฺวินฺนํ ธมฺมานํ อญฺญตเรน วเทยฺย | นั้นนั่นแล้ว พูดขึ้นด้วยธรรม ๒ ประการ |
สงฺฆาทิเสเสน วา ปาจิตฺติเยน วา, | อย่างใดอย่างหนึ่งคือด้วยสังฆาทิเสสก็ดี ด้วยปาจิตตีย์ก็ดี |
นิสชฺชํ ภิกฺขุ ปฏิชานมาโน ทฺวินฺนํธมฺมานํ | ภิกษุปฏิญญาซึ่งการนั่ง พึงถูกปรับด้วยธรรม |
อญฺญตเรน กาเรตพฺโพ สงฺฆาทิเสเสน | ๒ ประการคือด้วยสังฆาทิเสสบ้างด้วย |
วา ปาจิตฺติเยน วา, | ปาจิตตีย์บ้าง |
เยน วา สา สทฺเธยฺยวจสา อุปาสิกา | อีกอย่างหนึ่งอุบาสิกามีวาจาที่เชื่อได้นั้น |
วเทยฺย, เตน โส ภิกฺขุ กาเรตพฺโพ; | กล่าวด้วยธรรมใด ภิกษุนั้นพึงถูกปรับด้วย ธรรมนั้น |
อยมฺปิ ธมฺโม อนิยโต. | แม้ธรรมนี้ก็ชื่อ อนิยต. |
อุทฺทิฏฺฐา โข อายสฺมนฺโต เทฺว | ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรมชื่ออนิยต ๒ |
อ้างอิงบทสวดและคำแปลจาก
http://www.dmc.tv/forum/uploads/post-323-1156305445.ipb