สวดพระปาฏิโมกข์ สงฺฆาทิเสสุทฺเทโส

วันที่ 22 ธค. พ.ศ.2558

สวดพระปาฏิโมกข์
สงฺฆาทิเสสุทฺเทโส


สงฺฆาทิเสสุทฺเทโส
 

 

     อิเม โข ปนายสฺมนฺโต เตรส สงฺฆาทิเสสา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. / 

       ๑. สญฺเจตนิกา สุกฺกวิสฏฺฐิ, อญฺญตฺร สุปินนฺตา สงฺฆาทิเสโส. /

       ๒. โย ปน ภิกฺขุ โอติณฺโณ วิปริณเตน จิตฺเตน มาตุคาเมน สทฺธึ กายสํสคฺคํ สมาปชฺเชยฺย, / หตฺถคาหํ วา เวณิคาหํ วา อญฺญตรสฺส วา / อญฺญตรสฺส วา องฺคสฺส ปรามสนํ, สงฺฆาทิเสโส. /

       ๓. โย ปน ภิกฺขุ โอติณฺโณ วิปริณเตน จิตฺเตน / มาตุคามํ ทุฏฐุลฺลาหิ วาจาหิ โอภาเสยฺย, / ยถาตํ ยุวา ยุวติ เมถุนูปสณฺหิตาหิ; สงฺฆาทิเสโส.  /

       ๔. โย ปน ภิกฺขุ โอติณฺโณ วิปริณเตน จิตฺเตน / มาตุคามสฺส สนฺติเก อตฺตกามปาริจริยาย วณฺณํ ภาเสยฺย / " เอตทคฺคํ ภคินิ ปาริจริยานํ, / ยา มาทิสํ สีลวนฺตํ กลฺยาณธมฺมํ พฺรหฺมจารึ / เอเตน ธมฺเมน ปริจเร
ยฺยาติ / เมถุนูปสญฺหิเตน, สงฺฆาทิเสโส.   /

       ๕. โย ปน ภิกฺขุ สญฺจริตฺตํ สมาปชฺเชยฺย / อิตฺถิยา วา ปุริสมตึ ปุริสสฺส  วา /  อิตฺถีมตึ ชายตฺตเน วา ชารตฺตเน วา / อนฺตมโส ตํ ขณิกายปิ, สงฺฆาทิเสโส. /

      ๖. สญฺญาจิกาย ปน ภิกฺขุนา กุฏึ การยมาเนน / อสฺสามิกํ อตฺตุทฺเทสํ ปมาณิกา กาเรตพฺพา;  /  ตตฺริทํ ปมาณํ:   ทีฆโส ทฺวาทส วิทตฺถิโย สุคตวิทตฺถิยา, / ติริยํสตฺตนฺตรา. ภิกฺขู อภิเนตพฺพา วตฺถุเทสนาย /
เสตพฺพํอนารมฺภํ

      เตหิ ภิกฺขูหิ วตฺถุํ เทเสตพฺพํอนารมฺภํ  สปริกฺกมนํ.  /  สารมฺเภ เจ ภิกฺขุ วตฺถุสฺมึ อปริกฺกมเน / สญฺญจิกาย กุฎี กาเรยฺย,  ภิกฺขู วา อนภิเนยฺย วตฺถุเทสนาย, / ปมณํ วา อติกฺกาเมยฺย, สงฺฆาทิเสโส. /

       ๗. มหลฺบกมฺปน ภิกฺขุนา วิหารํ การยมาเนน / สสฺสามิกํ อตฺตุทฺเทสํ ภิกฺขู อภิเนตพฺพา วตฺถุเทสนาย, /

       เตหิ ภิกฺขูหิ วตฺถุํ เทเสตพฺพํอนารมฺภํ สปริกฺกมนํ.  /  สารมฺเภ เจ ภิกฺขุ วตฺถุสฺมึ อปริกฺกมเน / มหลฺลกํ วิหารํ กาเรยฺย, ภิกฺขู วา อนภิเนยฺย วตฦถุเทสนาย, สงฺฆาทิเสโส.  /

       ๘. โย ปน ภิกฺขุ ภิกฺขุํ ทุฏฺโฐโทโส อปฺปตีโต / อมูลเกน ปาราชิเกน ธมฺเมน อนุทฺธํเสยฺย / อปฺเปว นาม นํอิมมฺหา พฺรหฺมจริยา จาเวยฺยนฺติ. / ตโตอปเรน สมเยน / สมนุคฺคาหิยมาโน วาอสมนุคฺคาหิยมาโน วา, /
อมูลกญฺเจวตํ อธิกรณํ โหติ, / ภิกฺขุ จ โทสํ ปติฎฺฐาติ, สงฺฆาทิเสโส.  /

       ๙. โย ปน ภิกฺขุ ภิกฺขุํ ทุฏฺโฐ โทโส อปฺปตีโต / อญฺญภาคิยสฺส อธิกรณสฺส / กิญฺจิ เทสํ เลสมตฺตํ อุปาทาย ปาราชิเกน ธมฺเมน อนุทฺธํเสยฺย / "อปฺเปว นาม นํ อิมมฺหา พฺรหฺมจริยา จาเวยฺยนฺติ. / ตโต อปเรน สมเยน / สมนุคฺคาหิยมาโน วาอสมนุคฺคาหิยมาโน วา, / อญฺญภาคิยญฺเจว ตํ อธิกรณํ โหติ, / โกจิเทโส เลสมตฺโต อุปาทินฺโน / ภิกฺขุ จ โทสํ ปติฏฺฐาติ, สงฺฆาทิเสโส.  /

       ๑๐.โย ปน ภิกฺขุ สมคฺคสฺส สงฺฆสฺส เภทาย ปรกฺกเทยฺย / เภทนสํวตฺตนิกํ วา อธิกรณํ สมาทาย ปคฺคยฺห ติฏฺเฐยฺย. / โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ เอวมสฺส วจนีโย  / "มา อายสฺมา สมคฺคสฺส สงฺฆสฺส เภทาย ปรกฺกมิ, / เภท
นสํวตฺตนิกํ วา อธิกรณํ  สมาทาย ปคฺคยฺห อฏฺฐาสิ ; / สเมตายสฺมา สงฺเฆน, สมคฺโค หิ สงฺโฆ สมฺโมทมาโน  / อวิวทมาโน เอกุทฺเทโส ผาสุ วิหรตีติ. /

      เอวญฺจ โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ วุจฺจมาโน ตเถว ปคฺคณฺเหยฺย, / โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ ยาวตติยํ สมนุภาสิตพฺโพ ตสฺส ปฏินิสฺสคฺคาย; / ยาวตติยญฺเจ สมนุภาสิยมาโน ตํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย, / อิจฺเจตํ กุสลํ ;  โน เจ ปฏินิสฺสชฺเช
ยฺย, สงฺฆาทิเสโส. /

      ๑๑. ตสฺเสว โข ปน ภิกฺขุสฺส ภิกฺขู โหนฺติ อนุวตฺตกา วคฺควาทกา, / เอโก วา เทฺว วา ตโย วา, เต เอวํ วเทยฺุํ, / "มา อายสฺมนฺโต เอตํ ภิกฺขุกิญฺจิ  อวจุตฺถ / ธมฺมวาที เจโส ภิกฺขุ, วินยวาที เจโส ภิกฺขุ, /  อมฺหากญฺเจ
โส ภิกฺขุ, ฉนฺทญฺจ รุจิญฺจ  อาทาย โวหรติ, / ชานาติ โน ภาสติ, อมฺหากมฺเปตํ ขมตีติ. / เต ภิกฺขู ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา / "มา อายสฺมนฺโต เอวํ อวจุตฺถ, / น เจโส ภิกฺขุ ธมฺมวาที,   น เจโส ภิกฺขุ วินยวาที / มา อาย
สฺมนฺตานมฺปิ สงฺฆเภโท รุจิตฺถ, สเมตายสฺมนฺตานํ สงฺเฆน, สมคฺโค หิ สงฺโฆ สมฺโมทมาโน / อวิวทมาโน เอกุทฺเทโส ผาสุ วิหรตีติ. /

      เอวญฺจ เต ภิกฺขู ภิกฺขูหิ วุจฺจมานา  ตเถว ปคฺคณฺเหยฺยุํ. /  เต ภิกฺขู ภิกฺขูหิ ยาวตติยํ สมนุภาสิตพฺพา ตสฺส ปฏินิสฺสคฺคาย; /  ยาวตติยญฺเจ สมนุภาสิยมานา ตํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺยุํ / อิจฺเจตํ กุสลํ, โน เจ ปฏินิสฺสชฺเช
ยฺยุํ, สงฺฆาทิเสโส. /

       ๑๒.ภิกฺขุปเนว ทุพฺพจชาติโกโหติ, / อุทฺเทสปริยาปนฺเนสุ สิกฺขาปเทสุ ภิกฺขูหิ สหธมฺมิกํ / วุจฺจมาโน อตฺตานํอวจนียํ กโรติ / "มา มํอายสฺมนฺโตกิญฺจิอวจุตฺถ / กลฺยาณํวา ปาปกํ วา, / วิรมถายสฺมนฺโต มม วจนา
ยาติ,  /

      โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ เอวมสฺส วจนีโย  / "มา อายสฺมา อตฺตานํ อวจนี ยํอกาสิ, / วจนียเมว อายสฺมา อตฺตานํ กโรตุ, / อายสฺมาปิ ภิกฺขู วเทตุ สหธมฺเมน, / ภิกฺขูปิ อายสฺมนฺตํ วกฺขนฺติ สหธมฺเมน, / เอวํ สํวฑฺฒา หิ ตสฺส
ภควโต ปริสา, /  ยทิทํ อฺญมญฺญวจเนน อฺญมญฺญวุฏฺฐาปเนนาติ. / 

      เอวญฺจ โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ วุจฺจมาโน ตเถว ปคฺคณฺเหยฺย, / โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ ยาวตติยํ สมนุภาสิตพฺโพ ตสฺส ปฏินิสฺสคฺคาย; / ยาวตติยญฺเจ สมนุภาสิยมาโน ตํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย. / อิจฺเจตํ กุสลํ, โน เจ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย,
สงฺฆาทิเสโส. /

     ๑๓. ภิกฺขุ ปเนว อญฺญตรํ คามํ วา  นิคมํ วา / อุปนิสฺ สาย วิหรติ กุลทูสโก ปาปสมาจาโร, / ตสฺส โข ปาปกา สมาจารา ทิสฺสนฺติ เจว สุยฺยนฺติ จ, / กุลานิ จ เตน ทุฏฺฐานิ ทิสฺสนฺติ เจว  สุยฺยนฺติ จ. / โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ
เอวมสฺส วจนีโย /

      "อายสฺมาโขกุลทูสโก ปาปสมาจาโร, / อายสฺมโต โข ปาปกา สมาจารา ทิสฺสนฺติ เจว สุยฺยนฺติ จ. /  กุลานิ จายสฺมตา ทุฏฺฐานิ ทิสฺสนฺติ เจว สุยฺยนฺติ จ; / ปกฺกมตายสฺมา อิมมฺหา อาวาสา, อลนฺเต อิธ วาเสนาติ. /

      เอวญฺจ โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ วุจฺจมาโน เต ภิกฺขุ เอวํ วเทยฺย / "ฉนฺทคามิโน จ ภิกฺขู, โทสคามิโน จ ภิกฺขู, / โมหคามิโน จ ภิกฺขู, ภยคามิโน จ ภิกฺขู, / ตาทิสิกาย อาปตฺติยา เอกจฺจํ ปพฺพาเชนฺติ, /  เอกจฺจํ น ปพฺพา
เชนฺตีติ. / โส ภิกฺขู ภิกฺขูหิ เอวมสฺส วจนีโย / "มา อายสฺมา เอวํ อวจ, / น จ ภิกฺขู ฉนฺทคามิโน, น จ ภิกฺขู โทสคามิโน, / น จ ภิกฺขู โมหคามิโน, น จ ภิกฺขู ภยคามิโน; /

      อายสฺมา โข กุลทูสโก ปาปสมาจาโร, / อายสฺมโต โข ปาปกา สมาจารา ทิสฺสนฺติ เจว สุยฺยนฺติ จ, / กุลานิ จายสฺมตา ทุฏฺฐานิ ทิสฺสนฺติ เจว  สุยฺยนฺติ จ, / ปกฺกมตายสฺมา อิมมฺหา อาวาสา, อลนฺเต อิธ วาเสนาติ. /

      เอวญฺจ โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ วุจฺจมาโน ตเถว ปคฺคณฺเหยฺย, / โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ ยาวตติยํ สมนุภาสิตพฺโพ ตสฺส ปฏินิสฺสคฺคาย;  / ยาวตติยญฺเจ สมนุภาสิยมาโน ตํ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย, /  อิจฺเจตํ กุสลํ; โน เจ ปฏินิสฺสชฺเช
ยฺย, สงฺฆาทิเสโส. /

      อุทฺทิฏฺฐา โข อายสฺมนฺโต เตรส  สงฺฆาทิเสสา ธมฺมา; / นว ปฐมาปตฺติกา, จตฺตาโร ยาวตติยกา; / เยสํ ภิกฺขุ อญฺญตรํ วา อญฺญตรํ วา / อาปชฺชิตฺวา ยาวติหํ ชานํ ปฏิจฺฉาเทติ; / ตาวติหํ เตน ภิกฺขุนา อกามา
ปริวตฺถพฺพํ, / ปริวุตฺถปริวาเสน ภิกฺขุนา อุตฺตรึ ฉารตฺตํ ภิกฺขุมานตฺตาย ปฏิปชฺชิตพฺพํ, / จิณฺณมานตฺโต ภิกฺขุ, ยตฺถ สิยา วีสติคโณ ภิกฺขุสงฺโฆ, / ตตฺถ โส ภิกฺขุ อพฺเภตพฺโพ;  เอเกนปิ เจ อูโน วีสติคโณ ภิกฺขุสงฺโฆ / ตํ
ภิกฺขุ อพฺเภยฺย,  โส จ ภิกฺขุ อนพฺภิโต, / เต จ ภิกฺขู คารยฺหา อยํ ตตฺถ สามีจิ. /

      ตตฺถายสฺมนฺเต ปุจฺฉามิ:  กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? / ทุติยมฺปิ ปุจฺฉามิ:  กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? / 

      ตติยมฺปิ ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /

      ปริสุทฺเธตฺถายสฺมนฺโต; ตสฺมา ตุณฺหี, / เอวเมตํ ธารยมิ.

      สงฺฆาทิเสสุทฺเทโท นิฏฺฐิโต. /

 

คำแปล ความหมาย สงฺฆาทิเสสุทฺเทโส

อิเม โข ปนายสฺมนฺโต เตรส
ท่านทั้งหลายอาบัติชื่อสังฆาทิเสส ๑๓
สงฺฆาทิเสสา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ.
เหล่านี้แล ย่อมมาสู่อุทเทส.
๑. สญฺเจตนิกา สุกฺกวิสฏฺฐิ,
๑. ปล่อยสุกกะเป็นไปด้วยความจงใจ
อญฺญตฺร สุปินนฺตา
 เว้นไว้แต่ฝัน
สงฺฆาทิเสโส.
 เป็นสังฆาทิเสส. 
๒. โย ปน ภิกฺขุ โอติณฺโณ
๒. อนึ่ง ภิกษุใดกําหนัดแล้ว มีจิต
วิปริณเตน จิตฺเตน มาตุคาเมน สทฺธึ
แปรปรวนแล้ว ถึงความเคล้าคลึงด้วยกาย
กายสํสคฺคํสมาปชฺเชยฺย,
กับมาตุคาม
หตฺถคาหํ วา เวณิคาหํ วา
จับมือก็ตาม จับช้องผมก็ตาม 
อญฺญตรสฺส วา อญฺญตรสฺส วา องฺคสฺส ปรามสนํ,
ลูบคลําอวัยวะอันใดอันหนึ่งก็ตาม 
สงฺฆาทิเสโส.
 เป็นสังฆาทิเสส.
๓. โย ปน ภิกฺขุ โอติณฺโณ
๓. อนึ่ง ภิกษุใดกําหนัดแล้ว มีจิต
วิปริณเตน จิตฺเตน มาตุคามํ ทุฏฐุลฺลาหิ
แปรปรวนแล้ว พูดเคาะมาตุคามด้วยวาจา
วาจาหิ
ชั่วหยาบ
โอภาเสยฺย,
เหมือนชายหนุ่มพูดเคาะหญิงสาว ด้วยวาจา
ยถาตํ ยุวา ยุวติ เมถุนูปสณฺหิตาหิ;
พาดพิงเมถุน
สงฺฆาทิเสโส.
เป็นสังฆาทิเสส.
 ๔. โย ปน ภิกฺขุ โอติณฺโณ วิปริณเตน 
๔. อนึ่ง ภิกษุใดกําหนัดแล้ว มีจิต
จิตฺเตน มาตุคามสฺส สนฺติเก อตฺตกาม-
แปรปรวนแล้วกล่าวคุณแห่งการบําเรอ
ปาริจริยาย วณฺณํ ภาเสยฺย " เอตทคฺคํ
ตนด้วยกามในสํานักมาตุคาม ด้วยถ้อยคํา
ภคินิ ปาริจริยานํ, ยา มาทิสํ สีลวนฺตํ
พาดพิงเมถุน ว่า " น้องหญิง หญิงใดบําเรอ
กลฺยาณธมฺมํ พฺรหฺมจารึ เอเตน ธมฺเมน
ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ มีศีลมีกัลยาณธรรม
ปริจเรยฺยาติ เมถุนูปสญฺหิเตน,
 เช่นเราด้วยธรรมนั่น นั่นเป็นยอดแห่งความบําเรอทั้งหลาย
สงฺฆาทิเสโส.
เป็นสังฆาทิเสส.
๕. โย ปน ภิกฺขุ สญฺจริตฺตํ สมา-
๕. อนึ่ง ภิกษุใดถึงความเป็นผู้เที่ยวสื่อ
ปชฺเชยฺย อิตฺถิยา วา ปุริสมตึ ปุริสสฺส
(บอก) ความประสงค์ของชายแก่หญิงก็ดี 
วา อิตฺถีมตึ ชายตฺตเน วา ชารตฺตเน
(บอก) ความประสงค์ของหญิงแก่ชายก็ดี
วา อนฺตมโส ตํ ขณิกายปิ,
ในความเป็นเมียก็ตาม ในความเป็นชู้ก็ตาม โดยที่สุด (บอก) แม้แก่หญิงแพศยา อันจะพึงอยู่ร่วมชั่วขณะ 
สงฺฆาทิเสโส.
เป็นสังฆาทิเสส.
 ๖. สญฺญาจิกาย ปน ภิกฺขุนา กุฏึ
๖. อนึ่ง ภิกษุจะให้ทํากุฎีอันหาเจ้าของ
การยมาเนน อสฺสามิกํ อตฺตุทฺเทสํ
มิได้เฉพาะตนเองด้วยอาการขอเอาเอง
ปมาณิกา กาเรตพฺพา; 
พึงทําให้ได้ประมาณ;
ตตฺริทํ ปมาณํ: 
 นี้ประมาณในอันทํากุฎีนั้น
ทีฆโส ทฺวาทส วิทตฺถิโย สุคตวิทตฺถิยา,
โดยยาว ๑๒ คืบ โดยกว้าง ๗ คืบ ด้วยคืบ
ติริยํสตฺตนฺตรา.
สุคต ( วัด ) ในร่วมใน. 
ภิกฺขู อภิเนตพฺพา วตฺถุเทสนาย
พึงนําภิกษุทั้งหลายไป เพื่อแสดงที่
เตหิ ภิกฺขูหิ วตฺถุํ เทเสตพฺพํอนารมฺภํ
ภิกษุเหล่านั้น พึงแสดงที่อันไม่มีผู้จองไว้
สปริกฺกมนํ.
อันมีชานรอบ. 
สารมฺเภ เจ ภิกฺขุวตฺถุสฺมึอปริกฺกมเน
หากภิกษุให้ทํากุฎีด้วยการขอเอาเอง ในที่
สญฺญจิกายกุฎีกาเรยฺย,
อันมีผู้จองไว้ อันหาชานรอบมิได้
ภิกฺขูวาอนภิเนยฺยวตฺถุเทสนาย,
หรือไม่นําภิกษุทั้งหลายไป เพื่อแสดงที่
ปมณํวาอติกฺกาเมยฺย, 
หรือทําให้ล่วงประมาณ
สงฺฆาทิเสโส. 
เป็นสังฆาทิเสส. 
๗.มหลฺบกมฺปน ภิกฺขุนาวิหารํ 
๗. อนึ่ง ภิกษุจะให้ทําวิหารใหญ่อันมี
การยมาเนน สสฺสามิกํอตฺตุทฺเทสํภิกฺขู
เจ้าของ เฉพาะตนเอง พึงนําภิกษุทั้งหลาย
อภิเนตพฺพาวตฺถุเทสนาย,
ไป เพื่อแสดงที่ 
เตหิภิกฺขูหิวตฺถุเทเสตพฺพํอนารมฺภํ 
ภิกษุเหล่านั้น พึงแสดงที่อันไม่มีผู้จองไว้อัน
สปริกฺกมนํ.
 มีชานรอบ
สารมฺเภ เจ ภิกกฺขุวตฺถุสฺมึอปริกฺกมเน 
หากภิกษุให้ทําวิหารใหญ่ในที่มีผู้จองไว้ หา
มหลฺลกํวิหารํกาเรยฺย, 
ชานรอบมิได้
ภิกฺขูวาอนภิเนยฺยวตฦถุเทสนาย,
หรือไม่นําภิกษุทั้งหลายไป เพื่อแสดงที่
สงฺฆาทิเสโส.
เป็นสังฆาทิเสส.
๘.โย ปน ภิกฺขุภิกฺขุทุฏฺโฐโทโส 
๘. อนึ่ง ภิกษุใดขัดใจ มีโทสะไม่แช่ม
อปฺปตีโตอมูลเกน ปาราชิเกน ธมฺเมน
ชื่น ตามกําจัด ( คือโจท ) ภิกษุด้วยอาบัติ
อนุทฺธํเสยฺย
มีโทษถึงปาราชิก อันหามูลมิได้"
อปฺเปว นาม อปฺเปว นาม นํอิมมฺหา พฺรหฺมจริยา
ด้วยหมายความว่า " แม้ไฉนเราจะยังเธอให้
จาเวยฺยนฺติ.
เคลื่อนจากพรหมจรรย์นี้ได้ " 
ตโตอปเรน สมเยน สมนุคฺคาหิยมาโน
ครั้นสมัยอื่น แต่นั้น อันผู้ใดผู้หนึ่งถือเอาตาม
วาอสมนุคฺคาหิยมาโน วา,
ก็ตาม ไม่ถือเอาตามก็ตาม ( คือเชื่อก็ตาม ไม่เชื่อก็ตาม )
อมูลกญฺเจวตํอธิกรณํโหติ,
แต่อธิกรณ์นั้น เป็นเรื่องหามูลมิได้
ภิกฺขุจโทสํปติฎฺฐาติ,
และภิกษุย่อมยันอิงโทสะ
สงฺฆาทิเสโส.
 เป็นสังฆาทิเสส. 
๙.โย ปน ภิกฺขุภิกฺขุทุฏฺโฐโทโส
๙. อนึ่ง ภิกษุใดขัดใจ มีโทสะไม่แช่ม
อปฺปตีโตอญฺญภาคิยสฺส อธิกรณสฺส
ชื่น ถือเอาเอกเทศบางแห่ง แห่งอธิกรณ์
กิญฺจิเทสํเลสมตฺตํอุปาทาย ปาราชิเกน
อันเป็นเรื่องอื่นให้เป็นเพียงเลศ ตามกําจัด
ธมฺเมน อนุทฺธํเสยฺย
ภิกษุด้วยธรรมอันมีโทษถึงปาราชิก 
"อปฺเปว นาม นํอิมมฺหา พฺรหฺมจริยา 
ด้วยหมายว่า " แม้ไฉนเราจะยังเธอให้เคลื่อน
จาเวยฺยนฺติ.
จากพรหมจรรย์นี้ได้ "
ตโตอปเรน สมเยน สมนุคฺคาหิยมาโน
ครั้นสมัยอื่น แต่นั้น อันผู้ใดผู้อื่นถือเอาตาม
วาอสมนุคฺคาหิยมาโน วา,
ก็ตาม ไม่ถือเอาตามก็ตาม ( คือเชื่อก็ตาม
อญฺญภาคิยญฺเจวตํอธิกรณํโหติ,
ไม่เชื่อก็ตาม )แต่อธิกรณ์นั้นเป็นเรื่องอื่น
โกจิเทโส เลสมตฺโตอุปาทินฺโน
เอกเทศบางแห่ง เธอถือเอาพอเป็นเลศ
ภิกฺขุจโทสํปติฏฺฐาติ, 
 และภิกษุย่อมยันอิงโทสะ 
สงฺฆาทิเสโส.
 เป็นสังฆาทิเสส.
๑๐.โย ปน ภิกฺขุสมคฺคสฺส
 ๑๐. อนึ่ง ภิกษุใด ตะเกียกตะกายเพื่อ
สงฺฆสฺส เภทาย ปรกฺกเทยฺย
ทําลายสงฆ์ผู้พร้อมเพรียง
เภทนสํวตฺตนิกํวาอธิกรณํสมาทาย
หรือถือเอาอธิกรณ์ ( คือเรื่อง ) อันเป็นเหตุ
ปคฺคยฺห ติฏฺเฐยฺย.
แตกกัน ยกย่องยันอยู่
โส ภิกฺขุภิกฺขูหิเอวมสฺส วจนีโย
ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงว่ากล่าวอย่างนี้
"มาอายสฺมา สมคฺคสฺส สงฺฆสฺส เภทาย
ว่า"ท่านอย่าได้ตะเกียกตะกาย เพื่อทําลาย
ปรกฺกมิ, เภทนสํวตฺตนิกํ วา อธิกรณํ
สงฆ์ผู้พร้อมเพรียง หรืออย่าได้ถือเอาอธิกรณ์
สมาทาย ปคฺคยฺห อฏฺฐาสิ
อันเป็นเหตุแตกกัน ยกย่องยันอยู่ขอท่านจง
สเมตายสฺมา สงฺเฆน,
พร้อมเพรียงด้วยสงฆ์
สมคฺโค หิ สงฺโฆ สมฺโมทมาโน
เพราะว่าสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ปรองดองกัน
อวิวทมาโน เอกุทฺเทโส ผาสุ วิหรตีติ.
ไม่วิวาทกัน มีอุทเทสเดียวกัน(คือฟังพระปาฏิโมกข์ร่วมกัน) ย่อมอยู่ผาสุก"
เอวญฺจ โส ภิกฺขุภิกฺขูหิ วุจฺจมาโน 
และภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่
ตเถว ปคฺคณฺเหยฺย,  
อย่างนี้ยังยกย่องอยู่อย่างนั้นเทียว 
โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ ยาวตติยํ สมนุภาสิตพฺโพ
ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงสวดสมนุภาส
ตสฺส ปฏินิสฺสคฺคาย 
(คือประกาศห้าม) กว่าจะครบ๓จบ เพื่อให้สละกรรมนั้นเสีย
ยาวตติยญฺเจ สมนุภาสิยมาโน ตํ 
หากเธอถูกสวดสมนุภาส กว่าจะครบ ๓ จบ
ปฏินิสฺสชฺเชยฺย,
อยู่สละกรรมนั้นเสีย
อิจฺเจตํ กุสลํ
สละได้อย่างนี้นั่นเป็นการดี
สงฺฆาทิเสโส.
เป็นสังฆาทิเสส.
๑๑. ตสฺเสว โข ปน ภิกฺขุสฺส ภิกฺขู
๑๑.อนึ่ง มีภิกษุผู้ประพฤติตามผู้พูด
โหนฺติ อนุวตฺตกา วคฺควาทกา, 
 เข้ากันของภิกษุนั้นแล
เอโก วา เทฺว วา ตโย วา,
๑ รูปบ้าง ๒ รูปบ้าง ๓ รูปบ้าง 
เต เอวํ วเทยฺุํ,
เธอทั้งหลายกล่าวอย่างนี้ว่า
"มา อายสฺมนฺโต เอตํ ภิกฺขุกิญฺจิ
 "ขอท่านทั้งหลายอย่าได้กล่าวคําอะไรๆต่อ
อวจุตฺถ
ภิกษุนั้น
ธมฺมวาที เจโส ภิกฺขุ,
 ภิกษุนั่นกล่าวถูกธรรมด้วย
วินยวาที เจโส ภิกฺขุ,
 ภิกษุนั่นกล่าวถูกวินัยด้วย
อมฺหากญฺเจโส ภิกฺขุ, ฉนฺทญฺจ รุจิญฺจ
 ภิกษุนั้นถือเอาความพอใจและความชอบใจ
อาทาย โวหรติ,
ของพวกข้าพเจ้ากล่าวด้วย
ชานาติ โน ภาสติ, 
 เธอรู้(ใจ)ของพวกข้าพเจ้าจึงกล่าว
อมฺหากมฺเปตํ ขมตีติ.
คําที่เธอกล่าวนี้ย่อมควร(คือถูกใจ)แม้แก่พวกข้าพเจ้า".
เต ภิกฺขู ภิกฺขูหิ เอวมสฺสุ วจนียา
ภิกษุเหล่านั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงว่ากล่าวอย่างนี้ว่า
"มา อายสฺมนฺโต เอวํ อวจุตฺถ, 
 "ท่านทั้งหลายอย่าได้กล่าวอย่างนั้น
น เจโส ภิกฺขุ ธมฺมวาที 
ภิกษุนั้น หาใช่ผู้กล่าวถูกธรรมไม่ด้วย
น เจโส ภิกฺขุ วินยวาที
 ภิกษุนั่น หาใช่ผู้กล่าวถูกวินัยไม่ด้วย
มา อายสฺมนฺตานมฺปิ สงฺฆเภโท รุจิตฺถ,
ความทําลายสงฆ์อย่าได้ชอบแม้แก่พวกท่าน
สเมตายสฺมนฺตานํ สงฺเฆน,
ขอ(ใจ) ของพวกท่านจงพร้อมเพรียงด้วยสงฆ์
สมคฺโค หิ สงฺโฆ สมฺโมทมาโน
เพราะว่าสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงปรองดองกัน
อวิวทมาโน เอกุทฺเทโส ผาสุ วิหรตีติ.
ไม่วิวาทกัน มีอุทเทสเดียวกัน ย่อมอยู่ผาสุก"
เอวญฺจ เต ภิกฺขู ภิกฺขูหิ วุจฺจมานา
และภิกษุเหล่านั้น อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าว
ตเถว ปคฺคณฺเหยฺยุ.
อยู่อย่างนี้ยังยกย่องอยู่อย่างนั้นเทียว
เต ภิกฺขู ภิกฺขูหิ ยาวตติยํ สมนุภาสิตพฺพา
 ภิกษุเหล่านั้น อันภิกษุทั้งหลาย พึงสวดสมนุภาสกว่าจะครบ ๓ จบ
ตสฺส ปฏินิสฺสคฺคาย
เพื่อให้สละกรรมนั้นเสีย 
ยาวตติยญฺเจ สมนุภาสิยมานา ตํ ปฏิ-
หากเธอทั้งหลายถูกสวดสมนุภาส กว่าจะครบ
นิสฺสชฺเชยฺยุํ
 ๓ จบอยู่สละกรรมนั้นเสีย
อิจฺเจตํ กุสลํ,
สละได้อย่างนี้นั่นเป็นการดี
โน เจ ปฏินิสฺสชฺเชยฺยุํ, 
หากเธอทั้งหลายไม่สละเสีย 
สงฺฆาทิเสโส.
เป็นสังฆาทิเสส. 
๑๒.ภิกฺขุปเนว ทุพฺพจชาติโกโหติ,
๑๒.อนึ่ง ภิกษุเป็นผู้มีสัญชาติแห่งคนว่ายาก
อุทฺเทสปริยาปนฺเนสุสิกฺขาปเทสุภิกฺขูหิ
อันว่าภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ถูกทางธรรมใน
สหธมฺมิกํวุจฺจมาโน อตฺตานํอวจนียํ กโรติ
สิกขาบททั้งหลายอันเนื่องในอุทเทส(คือพระปาฏิโมกข์)ทําตนให้เป็นผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าวไม่ได้ด้วยกล่าวโต้ว่า 
"มา มํอายสฺมนฺโตกิญฺจิอวจุตฺถ
"พวกท่านอย่าได้กล่าวอะไรๆต่อเราเป็น
กลฺยาณํวา ปาปกํ วา, 
คําดีก็ตาม เป็นคําชั่วก็ตาม 
อหมฺปายสฺมนฺเต น กิญฺจิวกฺขามิ
แม้เราก็จะไม่กล่าวอะไรๆ ต่อพวกท่าน
กลฺยาณํวา ปาปกํวา, 
 เหมือนกัน เป็นคําดีก็ตาม เป็นคําชั่วก็ตาม
วิรมถายสฺมนฺโต มม วจนายาติ,
ขอพวกท่านจงเว้นจากการว่ากล่าวเราเสีย"
โส ภิกฺขุภิกฺขูหิเอวมสฺส วจนีโย
ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลาย พึงว่ากล่าวอย่างนี้ว่า
"มาอายสฺมาอตฺตานํอวจนียํอกาสิ
"ท่านอย่าได้ทําตนให้เป็นผู้อันใครๆว่าไม่ได้
วจนียเมวอายสฺมาอตฺตานํกโรตุ,
ขอท่านจงทําตนให้เขาว่าได้แล
อายสฺมาปิ ภิกฺขู วเทตุ สหธมฺเมน,
แม้ท่านก็จงว่ากล่าวภิกษุทั้งหลายโดยชอบธรรม
ภิกฺขูปิ อายสฺมนฺตํ วกฺขนฺติ สหธมฺเมน,
แม้ภิกษุทั้งหลายก็จักว่ากล่าวท่านโดยชอบธรรม
เอวํสํวฑฺฒา หิตสฺส ภควโต ปริสา,
เพราะว่า บริษัทของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นเจริญแล้วด้วยอาการอย่างนี้
ยทิทํอฺญมญฺญวจเนน อฺญมญฺญ-
คือด้วยว่ากล่าวซึ่งกันและกัน ด้วยเตือนกัน
วุฏฺฐาปเนนาติ.
และกันให้ออกจากอาบัติ"
เอวญฺจโส ภิกฺขุภิกฺขูหิวุจฺจมาโน
และภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่
ตเถว ปคฺคณฺเหยฺย,
อย่างนี้ยังยกย่องอยู่อย่างนั้นเทียว
โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ ยาวตติยํ สมนุภาสิตพฺโพ
ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงสวดสมนุภาส
ตสฺสปฏินิสฺสคฺคาย,
กว่าจะครบ ๓ จบ เพื่อให้สละกรรมนั้นเสีย
ยาวตติยญฺเจ สมนุภาสิยมาโน ตํ
หากเธอถูกสวดสมนุภาสกว่าจะครบ ๓ จบอยู่
ปฏินิสฺสชฺเชยฺย.
สละกรรมนั้นเสีย
อิจฺเจตํกุสลํ,
 สละได้อย่างนี้นั่นเป็นการดี
โน เจ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย,
หากเธอไม่สละเสีย
สงฺฆาทิเสโส.
เป็นสังฆาทิเสส. 
๑๓. ภิกฺขุ ปเนว อญฺญตรํ คามํ วา
 ๑๓.อนึ่ง ภิกษุเข้าไปอาศัยบ้านก็ดีนิคม
นิคมํ วาอุปนิสฺ สาย วิหรติ กุลทูสโก
ก็ดีแห่งใดแห่งหนึ่งอยู่ เป็นผู้ประทุษร้าย
ปาปสมาจาโร,
มีความประพฤติเลวทราม
ตสฺส โข ปาปกา สมาจารา ทิสฺสนฺติ 
ความประพฤติเลวทรามของเธอเขาได้เห็น
เจว สุยฺยนฺติจ,
อยู่ด้วยเขาได้ยินอยู่ด้วย
กุลานิจเตน ทุฏฺฐานิทิสฺสนฺติเจว
และสกุลทั้งหลายอันเธอประทุษร้ายแล้วเขา
สุยฺยนฺติจ.
ได้เห็นอยู่ด้วยเขาได้ยินอยู่ด้วย
โส ภิกฺขุภิกฺขูหิเอวมสฺส วจนีโย
ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงกล่าวอย่างนี้ว่า
"อายสฺมาโขกุลทูสโก ปาปสมาจาโร,
"ท่านเป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มีความประพฤติเลวทราม
อายสฺมโตโข ปาปกา สมาจารา ทิสฺสนฺติ
ความประพฤติเลวทรามของท่าน เขาได้เห็น
เจว สุยฺยนฺติจ,
อยู่ด้วยเขาได้ยินอยู่ด้วย
กุลานิจายสฺมตา ทุฏฺฐานิ ทิสฺสนฺติ เจว 
และสกุลทั้งหลายอันท่านประทุษร้ายแล้ว
สุยฺยนฺติจ, 
เขาได้เห็นอยู่ด้วยเขาได้ยินอยู่ด้วย 
ปกฺกมตายสฺมาอิมมฺหาอาวาสา,
ท่านจงหลีกไปเสียจากอาวาสนี้ 
อลนฺเต อิธ วาเสนาติ.
ท่านอย่าอยู่ในที่นี้(อีก)"
เอวญฺจ โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ วุจฺจมาโน เต
และภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่
ภิกฺขุ เอวํ วเทยฺย
อย่างนี้พึงกล่าวกะภิกษุเหล่านั้นอย่างนี้ว่า
"ฉนฺทคามิโน จ ภิกฺขู,
"พวกภิกษุถึงความพอใจด้วย
โทสคามิโน จ ภิกฺขู,
ถึงความขัดเคืองด้วย
โมหคามิโน จ ภิกฺขู,
 ถึงความหลงด้วย
ภยคามิโน จ ภิกฺขู,
ถึงความกลัวด้วย 
ตาทิสิกาย อาปตฺติยา เอกจฺจํ ปพฺพาเชนฺติ,
ย่อมขับภิกษุบางรูป ย่อมไม่ขับภิกษุบางรูป
เอกจฺจํ น ปพฺพาเชนฺตีติ.
เพราะอาบัติเช่นเดียวกัน"
โส ภิกฺขู ภิกฺขูหิ เอวมสฺส วจนีโย
ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงว่ากล่าวอย่างนี้ว่า
"มา อายสฺมา เอวํ อวจ,
"ท่านอย่าได้กล่าวอย่างนั้น
น จ ภิกฺขู ฉนฺทคามิโน,
ภิกษุทั้งหลายหาได้ถึงความพอใจไม่
น จ ภิกฺขู โทสคามิโน,
 หาได้ถึงความขัดเคืองไม่
น จ ภิกฺขู โมหคามิโน,
หาได้ถึงความหลงไม่
น จ ภิกฺขู ภยคามิโน
หาได้ถึงความกลัวไม่ 
อายสฺมา โข กุลทูสโก ปาปสมาจาโร,
ท่านเองแลเป็นผู้ประทุษร้ายสกุล มีความ ประพฤติเลวทราม
อายสฺมโต โข ปาปกา สมาจารา ทิสฺสนฺติ
ความประพฤติเลวทรามของท่าน เขาได้เห็น
เจว สุยฺยนฺติ จ,
อยู่ด้วยเขาได้ยินอยู่ด้วย
กุลานิ จายสฺมตา ทุฏฺฐานิ ทิสฺสนฺติ เจว
และสกุลทั้งหลายอันท่านประทุษร้ายแล้ว
สุยฺยนฺติ จ,
 เขาได้เห็นอยู่ด้วยเขาได้ยินอยู่ด้วย
ปกฺกมตายสฺมา อิมมฺหา อาวาสา,
ท่านจงหลีกไปเสียจากอาวาสนี้
อลนฺเต อิธ วาเสนาติ.
ท่านอย่าอยู่ในที่นี้(อีก)"
เอวญฺจ โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ วุจฺจมาโน
และภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่
ตเถว ปคฺคณฺเหยฺย, 
อย่างนี้ยังยกย่องอยู่อย่างนั้นเทียว
โส ภิกฺขุ ภิกฺขูหิ ยาวตติยํ สมนุภาสิตพฺโพ
ภิกษุนั้น อันภิกษุทั้งหลายพึงสวดสมนุภาส
ตสฺส ปฏินิสฺสคฺคาย;
กว่าจะครบ ๓ จบ เพื่อให้สละกรรมนั้นเสีย
ยาวตติยญฺเจ สมนุภาสิยมาโน ตํ
หากเธอถูกสวดสมนุภาสกว่าจะครบ ๓ จบอยู่
ปฏินิสฺสชฺเชยฺย,
สละกรรมนั้นเสีย 
อิจฺเจตํ กุสลํ;
สละได้อย่างนี้นั่นเป็นการดี
โน เจ ปฏินิสฺสชฺเชยฺย,
หากเธอไม่สละเสีย
สงฺฆาทิเสโส.
เป็นสังฆาทิเสส. 
      อุทฺทิฏฺฐา โข อายสฺมนฺโต เตรส 
 ท่านทั้งหลายธรรมชื่อสังฆาทิเสส ๑๓
สงฺฆาทิเสสา ธมฺมา นว ปฐมาปตฺติกา,
เป็นปฐมาปัตติกะ (ให้ต้องอาบัติแต่แรกทํา) 
จตฺตาโร ยาวตติยกา;
(ให้ต้องอาบัติต่อ เมื่อสงฆ์สวดประกาศห้ามครง ๓ ครั้ง) ๔,
เยสํ ภิกฺขุ อญฺญตรํ วา อญฺญตรํ วา 
ภิกษุต้องธรรมเหล่าไรเล่าอันใดอันหนึ่งแล้ว
อาปชฺชิตฺวา ยาวติหํ ชานํ ปฏิจฺฉาเทติ; 
รู้อยู่ปกปิดไว้สิ้นวันเพียงเท่าใด 
ตาวติหํ เตน ภิกฺขุนา อกามา ปริวตฺถพฺพํ,
ภิกษุนั้น ถึงจะไม่ปรารถนาก็พึงจําอยู่ปริวาส สิ้นวันเท่าที่ปกปิดนั้น
ปริวุตฺถปริวาเสน ภิกฺขุนา อุตฺตรึ ฉารตฺตํ
ภิกษุอยู่ปริวาสครบตามวันที่ปิดแล้ว พึง
ภิกฺขุมานตฺตาย ปฏิปชฺชิตพฺพํ,
ปฏิบัติเพื่อภิกษุมานัตต์เกินขึ้นไป ๖ ราตรี
จิณฺณมานตฺโต ภิกฺขุ,
หมู่ภิกษุได้ประพฤติมานัตต์ ๖ ราตรีแล้ว
ยตฺถ สิยา วีสติคโณ ภิกฺขุสงฺโฆ,
หมู่ภิกษุคณะ ๒๐ จะพึงมี ณ สีมาใด 
ตตฺถ โส ภิกฺขุ อพฺเภตพฺโพ;
ภิกษุนั้น สงฆ์พึงอัพภานเธอ ณ สีมานั้น
เอเกนปิ เจ อูโน วีสติคโณ ภิกฺขุสงฺโฆ
ถ้าภิกษุสงฆ์คณะ ๒๐ หย่อนด้วยภิกษุแม้
ตํ ภิกฺขุ อพฺเภยฺย, 
แต่องค์หนึ่งไม่ครบ๒๐ หากอัพภานภิกษุนั้นไซร้
โส จ ภิกฺขุ อนพฺภิโต, 
ภิกษุนั้นก็เป็นอันมิได้อัพภาน 
เต จ ภิกฺขู คารยฺหา
ภิกษุทั้งหลายที่เป็นการกสงฆ์ก็เป็นอัน พระพุทธเจ้าจะพึงติเตียน
อยํ ตตฺถ สามีจิ.
นี้เป็นสามีจิกรรม(คือประพฤติชอบ)ในเรื่องนั้น
ตตฺถายสฺมนฺเต ปุจฺฉามิ
ข้าพเจ้าถามท่านทั้งหลายในเรื่องนั้น
กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ?
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ
ทุติยมฺปิ ปุจฺฉามิ
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่ ๒
กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ?
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ
ตติยมฺปิ ปุจฺฉามิ
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่ ๓ 
กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ?
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ
ปริสุทฺเธตฺถายสฺมนฺโต 
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วในเรื่องนั้น
ตสฺมา ตุณฺหี,
เพราะฉะนั้น จึงนิ่ง 
เอวเมตํ ธารยมิ.
 ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.
สงฺฆาทิเสสุทฺเทโท นิฏฺฐิโต.
สังฆาทิเสสุทเทส จบ.


      
      


อ้างอิงบทสวดและคำแปลจาก 
http://www.dmc.tv/forum/uploads/post-323-1156305445.ipb

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.021127247810364 Mins