สวดมนต์ทำวัตรเย็น
พระภิกษุสามเณรและสาธุชนนั่งคุกเข่าประนมมือ พึงกล่าวคำนมัสการดังต่อไปนี้
คำบูชาพระรัตนตรัย
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ , สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม , สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะ-วะโต สาวะกะสังโฆ , ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง , อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปู-ชะยามะ , สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะริ นิพพุโตปิ , ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา , อิเม สักกาเร ทุคคะ-ตะ ปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ , อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ
คำนมัสการพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา , พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม , ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , สังฆัง นะมามิ ฯ (กราบ)
ปุพพภาคนมการะ
(นำ) หันทะทานิ มะยัง ตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อะภิคายิตุง ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ
พุทธานุสสะติ นะยัญจะ กะโรมะ เส ฯ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ (๓ ครั้ง)
พุทธานุสสติ
ตังโข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต , อิติปิ โสภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ , วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู , อะนุตตะโรปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ
พุทธาถิคีติ
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ
(หมอบกราบลงว่า)
ธัมมานุสสติ
(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส ฯ
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เทวิตัพโพ วิญูหีติ ฯ
ธัมมาภิคีติ
(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ
(หมอบกราบลงว่า)
สังฆานุสสติ
(นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส ฯ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา , เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ
สังฆาภิคีติ
(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ
(หมอบกราบลงว่า)
(นั่งพับเพียบ)
อตีตปัจจเวกขณปาฐะ
(นำ) หันทะ มะยัง อะตีตะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ
อัชชะ มะยาอะปัจจะเวกขิตวา ยังจีวะรัง ปะริภุตตัง, ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิ-ฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถังฯ
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตวา โย ปิณฑะปาโต ปะริภุตโต, โส เนวะทวายะ นะ มะทายะ นะ มัณฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ, ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะระติยา พรัหมะจะริยานุคคะหายะ, อิติปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, ยาตรา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะผาสุวิหาโร จาติฯ
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตวา ยัง เสนาสะนัง ปะริภุตตัง, ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถังฯ
อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตวา โย คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ปะริภุตโต, โส ยาวะเทวะ อุปปัน-นานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ, อัพยาปัชฌะปะระมะตายาติฯ
อุททิสนคาถา
(นำ) หันทะ มะยัง อุททิสะนะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ
อภิณหปัจจเวกขณปาฐะ
(นำ) หันทะ มะยัง อภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ
ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต , เรามีความแก่เป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ ,
พะยาธิธัมโมมหิ พะยาธิง อะนะตีโต , เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความเจ็บไปได้ ,
มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต, เรามีความตายเป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความตายไปได้,
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจด้วยกันหมดทั้งสิ้น
กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท เรามีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม
กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์
กัมมะปะฏิสะระโณ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสามิ เราทำกรรมใดไว้
กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ดีหรือชั่วก็ตาม
ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามิ ฯ เราจะต้องเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น
หลักธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนือง ๆ ๑๐ ประการ
๑. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า บัดนี้เรามีเพศ ต่างจากคฤหัสถ์แล้ว อาการกิริยาใดๆ ของสมณะ เราต้องทำอาการ กิริยานั้นๆ
๒. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ความเลี้ยงชีวิตของเราเนื่องด้วยผู้อื่น เราควรทำตัวให้เขาเลี้ยงง่าย
๓. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า อาการกายวาจา อย่างอื่นที่เราจะต้องทำให้ดีขึ้นไปกว่านี้ ยังมีอยู่อีก ไม่ใช่เพียงเท่านี้
๔. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ตัวเราติเตียนตัวของเราเองโดยศีลได้หรือไม่
๕. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ผู้รู้ใคร่ครวญแล้วติเตียนเราโดยศีลได้หรือไม่
๖. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เราจะต้องพลัดพราก จากของรักของชอบใจทั้งนั้น
๗. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็นของตัว เราทำดีจักได้ดี ทำชั่วจักได้ชั่ว
๘. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่
๙. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรายินดีในที่สงัดหรือไม่
๑๐. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า คุณวิเศษของเรา มีอยู่หรือไม่ ที่จะให้เราเป็นผู้ไม่เก้อเขิน ในเวลาเพื่อนบรรพชิตถามในกาลภายหลัง
ทำวัตรเย็นเสร็จแล้ว ให้ทุกท่านสำรวมใจ นั่งคุกเข่าประนมมือ เพื่อสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย พร้อมเพรียงกันโดยมีประธานเป็นผู้กล่าวนำดังต่อไปนี้
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา , พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ฯ
(กราบครั้งที่หนึ่งแล้วกล่าวว่า)
พุทโธ เม นาโถ , พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งของเรา.
สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม , ธัมมัง นะมัสสามิ ฯ
(กราบครั้งที่หนึ่งแล้วกล่าวว่า)
ธัมโม เม นาโถ , พระธรรมเป็นที่พึ่งของเรา
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , สังฆัง นะมามิ ฯ
(กราบครั้งที่หนึ่งแล้วกล่าวว่า)
สังโฆ เม นาโถ , พระสงฆ์เป็นที่พึ่งของเรา
** อ้างอิงจากหนังสือสวดมนต์ ฉบับวัดพระธรรมกาย **
เหมาะสำหรับพระภิกษุสามเณรและพุทธศาสนิกชนทุกท่าน รวบรวมและเรียบเรียงโดย กองวิชาการ (๐๑) วัดพระธรรมกาย