การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย

วันที่ 15 พค. พ.ศ.2560

ดุลยภาพบำบัดในสมัยปัจจุบัน
การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย "

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย คือ การบริหารร่างกาย เพื่อจัดการให้โครงสร้างของร่างกายอยู่ในภาวะสมดุลเสมอ ด้วยตัวของมันเอง เพราะเหตุที่โครงสร้างร่างกายของเรา ประกอบด้วยกล้ามเนื้อที่ยึดโยงกันเพื่อให้เกิดภาวะสมดุล และตามปกติคนเรามีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา แม้กระทั่งเวลานอนหลับ ดังนั้นโอกาสที่โครงสร้างร่างกายของเราจะเสีย มดุลย่อมเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา เราจึงจำเป็นต้องคอยระมัดระวัง โดยการฝึกกล้ามเนื้อให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง หรือขณะที่ร่างกายเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อก็ต้องถูกดึงไปในทิศทางที่ถูกต้อง ทั้งนี้ เพื่อควบคุมโครงสร้างของร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุลอยู่เสมอ


ทำไมต้องบริหารร่างกาย
      อันที่จริงไม่ว่าจะเป็นการหายใจให้ถูกต้อง การนั่งให้ตัวตรง และการรักษาอิริยาบถให้อยู่ในท่าพื้นฐาน ดังที่กล่าวมาแล้วนั้น ถือว่าเป็นการบริหารร่างกายแล้ว แต่เป็นการบริหารร่างกายเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ยังไม่เพียงพอที่จะป้องกันและแก้ไขอาการบิดเบี้ยวของโครงสร้างร่างกาย ที่ได้รับแรงกระทบกระแทกจากภายนอกอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นจึงต้องมีท่าบริหารร่างกายเพื่อฝึกกล้ามเนื้อให้สามารถรักษาโครงสร้างของร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุลให้ได้ตลอดเวลา

     แม้เพียงแค่การนอน ก็มีโอกาสทำให้โครงสร้างของร่างกายเสียสมดุลได้แล้ว เพราะขณะที่หลับ เราก็อาจจะนอนบิด ตะแคงบ้าง ตัวงอบ้าง โดยไม่รู้ตัว ดังนั้นเมื่อตื่นขึ้นมาในตอนเช้าก็ควรจัดการให้โครงสร้างของร่างกายกลับสู่ภาวะสมดุล ด้วยการบริหารร่างกายสักครั้งหนึ่ง

      การบริหารร่างกาย  นอกจากจะเป็นการจัดการให้โครงสร้างของร่างกายกลับสู่ภาวะสมดุลแล้ว ยังเป็นการฝึกกล้ามเนื้อให้ได้เรียนรู้ว่า การเคลื่อนไหวหรือการถูกดึงรั้งไปในทิศทางใดผิดหรือถูกต้อง แต่ถ้าเราไม่มีท่าบริหารกล้ามเนื้อก็ไม่ถูกฝึก


การบริหารร่างกาย มีวิธีปฏิบัติอย่างไร
   การบริหารร่างกายที่ดี ควรมีวัตถุประสงค์หลักอยู่ที่การปรับสร้างความสมดุลให้แก่ร่างกายและจิตใจ ท่าบริหารต่อไปนี้ นพ.ถาวร กาสมสัน ได้รับการถ่ายทอดจาก รศ.พญ. ลดาวัลย์สุวรรณกิตติ และได้ปรับปรุงในรายละเอียด โดยอาศัยประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมา

      อนึ่ง ในการบริหารร่างกายนั้น ไม่ว่าจะกระทำที่ไหน เมื่อใด แต่งกายอย่างไรก็ได้ทั้งสิ้นขอเพียงให้สามารถเคลื่อนไหวในแต่ละท่าได้สะดวกไม่ติดขัดเป็นใช้ได้ อีกทั้งต้องมีความตั้งใจและเอาใจใส่ในการบริหารอย่างจริงจังเท่านั้น ก็จะประสบผลดี มีสุขภาพดีอย่างแน่นอน


1. กายบริหารในท่านั่ง
(1) ท่าเตรียมพร้อม
     นั่งบนเก้าอี้หรือม้านั่งที่มั่นคง และไม่สูงกว่าระดับเข่า โดยนั่งให้ชิดขอบด้านหน้า ให้ช่วงต้นขาพ้นขอบเก้าอี้ออกมา แขนทั้ง องแนบชิดลำตัว วางมือทั้งสองไว้บนต้นขา หงายฝ่ามือขึ้น

    วางเท้าเหยียบลงบนพื้น ให้เต็มฝ่าเท้า เท้าทั้ง องขนานกัน และชี้ปลายเท้าตรงไปข้างหน้าสันกระดูกหน้าแข้ง ตั้งฉากกับพื้น แยกเท้าและเข่าออกห่างเท่ากับช่วงกว้างของไหล่โดยประมาณ(เพื่อให้กล้ามเนื้อจากด้านหน้าไปถึงกระดูกสันหลัง ยืดได้ดีขึ้น)

รักษาท่าพื้นฐานตลอดเวลา 
    หายใจเข้าช้าๆ ให้ลึกมากที่สุด โดยยังคงรักษาท่านั่งข้างต้นไว้ตลอด ให้ทรวงอกขยายไปข้างหน้าและยกขึ้น ดึงหน้าท้องให้แฟบ กระดูกสะบักชิดกันตลอดเวลา คางชิดคอ หน้ามองตรงขมิบทวาร

      หายใจออกช้าๆ และผ่อนคลายร่างกายทุกส่วน โดยยังคงรักษาท่านั่งข้างต้นไว้ กลืนน้ำลาย

(2) กายบริหารท่าที่ 1
ขั้นตอนที่ 1
เริ่มในท่าเตรียมพร้อม

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

    ขั้นตอนที่ 2 ยืดตัวเอนไปข้างหน้า โดยงอพับเฉพาะที่ข้อสะโพกใช้นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือจับรอบกระดูกสะบ้าหัวเข่า โดยให้นิ้วชี้วางขวางในร่องใต้กระดูกสะบ้าส่วนนิ้วหัวแม่มือวางขวางเหนือขอบบนของกระดูกสะบ้า

     นิ้วอื่นที่เหลือให้กางออก โดยให้นิ้วก้อยโอบด้านหลังข้อพับเข่า

    หลังยืดเหยียดขึ้นและเอนไปข้างหน้า แอ่นอก ดันหัวไหล่ ไปด้านหลัง ดึงกระดูกสะบักให้ชิดกันไว้ที่บริเวณกลางหลัง ดึงคางให้ชิดคอ ให้ลำคอและหลังยืดอยู่ในแนวเดียวกัน

    หายใจเข้าช้าๆ ให้ลึกมากที่สุด โดยยังคงรักษาท่านั่งข้างต้นไว้ตลอด ให้ทรวงอกขยายไปข้างหน้าและยกขึ้น ดึงหน้าท้องให้แฟบ กระดูกสะบักชิดกันตลอดเวลา คางชิดคอ ขมิบทวารถ้าทำถูกต้องจะรู้สึกว่า กล้ามเนื้อหลังและคอถูกยืดดึงขึ้น

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

       หายใจออกช้าๆ และผ่อนคลายร่างกายทุกส่วน โดยยังคงรักษาท่านั่งข้างต้นไว้ กลืนน้ำลาย

    ทำซ้ำ 5 ครั้ง โดยไม่จำเป็นต้องทำต่อเนื่องติดๆ กัน แต่พยายามทำแต่ละครั้งให้ถูกต้อสมบูรณ์ที่สุด  จบแล้วกลับสู่ท่าเตรียมพร้อม

(3) กายบริหารท่าที่ 2
      ขั้นตอนที่ 1
เริ่มในท่าเตรียมพร้อม

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 2 ประสานมือโดยสลับนิ้ว

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

    ขั้นตอนที่ 3 พลิกฝ่ามือออกด้านนอก พร้อมทั้งเหยียดแขนออกไปจนสุด ข้อศอกเหยียดตึง นิ้วมือถูกดัดแอ่นออก

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 4 วาดแขนขึ้นเหนือศีรษะ

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 5 เหยียดแขนขึ้นให้สุดจนกระทั่งแขนชิดหูสูดหายใจเข้าช้า ๆ  ต่อเนื่องให้ลึกที่สุดพร้อมกับดึงหน้าท้องให้แฟบเข้าหากระดูกสันหลัง คางชิดคอ หน้ามองตรง ขมิบทวาร

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

       ขั้นตอนที่ 6 หายใจออกช้าๆ พร้อมกับค่อยๆ ลดมือลง มือยังประสานกัน และยังหงายฝ่ามืออยู่

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

    ขั้นตอนที่ 7 นำลงมาพักที่จุดสูงสุดของศีรษะ ตรงกับแนวกระดูกสันหลัง ผ่อนคลาย รักษาท่าพื้นฐานไว้ กลืนน้ำลาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 8 มือยังประสานและหงายฝ่ามือ พักอยู่บนศีรษะในท่าพื้นฐานสูดหายใจเข้าชิดและลึกที่สุด ให้ทรวงอกขยายไปข้างหน้าและยกขึ้น ดึงหน้าท้องให้แฟบ กระดูกสะบักชิดกันตลอดเวลาคางชิดคอ ขมิบทวาร

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

       หายใจออกช้าๆ พร้อมค่อยๆ ผ่อนคลาย รักษาท่าพื้นฐานไว้ตลอด กลืนน้ำลาย

     ทำซ้ำ 5 ครั้ง ตั้งแต่ขั้นตอนที่ 3 4 5 6 7 และ 8 โดยเริ่มรอบที่สองด้วยการเหยียดแขนจากที่พักอยู่บนศีรษะ

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

       เหยียดขึ้นไปให้สุด จนกระทั่งแขนชิดหูทั้ง องข้างสูดหายใจเข้าต่อเนื่องให้ลึกที่สุด

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย


การจบท่าบริหารท่าที่ 2
     หลังจากทำซ้ำ 5 ครั้ง กลับมายังขั้นตอนที่ 8 หายใจเข้าช้าๆ ขณะที่มือยังประสานหงายฝ่ามือ พักอยู่บนศีรษะในท่าพื้นฐาน หายใจเข้าให้ลึกที่สุด เพื่อให้ทรวงอก ขยายออกอย่างเต็มที

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

       ขั้นตอนที่ 9 แยกมือออกจากกัน พร้อมกับหายใจออกช้าๆ และกระดูกสะบักชิดกันตลอดเวลา

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 10 วาดมือลงมาวางพักบนต้นขา ฝ่ามือคว่ำลง นิ้วมือชิดกันทอดไปตามแนวขารักษาท่าพื้นฐานไว้ตลอด ผ่อนคลายให้มากที่สุด กลืนน้ำลาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย


(4) กายบริหารท่าที่ 3
      ขั้นตอนที่ 1 เริ่มในท่าฝ่ามือคว่ำ ต่อจากตอนจบของท่าที่ 2

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 2 เหยียดแขนซ้าย ข้อศอกตรง หักข้อมือขึ้น

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 3 หายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ พร้อมกับยกฝ่ามือซ้ายให้ปลายนิ้วชี้ขึ้น 90 องศาสูงระดับไหล่ รักษาท่าพื้นฐานไว้ตลอด

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 4 หายใจออกช้าๆ พร้อมกับยกมือขวาขึ้นมา ให้ฝ่ามือขวา คล้องนิ้วชี้ นิ้วกลางและนิ้วนางของมือซ้ายที่ตั้งไว้

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 5 หายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ พร้อมกับใช้มือขวาดึงนิ้วทั้งสามของมือซ้ายเข้าหาลำตัว โดยให้ข้อมือซ้าย หักงอพับเข้าหาลำตัว ดึงให้เต็มที่ แต่แขนซ้ายยังคงเหยียดตึงอยู่ หายใจให้ทรวงอกขยายไปข้างหน้าและยกขึ้น ดึงหน้าท้องให้แฟบเข้าหากระดูกสันหลัง คางชิดคอหน้ามองตรง แบะไหล่ไปด้านหลัง ขมิบทวาร

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 6 หายใจออกช้าๆ ผ่อนคลายร่างกาย แขนซ้ายยังคงเหยียดตึง เอามือขวากลับมาอยู่ในท่าเดิม กลืนน้ำลาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 7 แขนซ้ายเหยียดตึง กางฝ่ามือและนิ้วทั้ง 5 ออกจนสุด รักษาท่าพื้นฐานไว้

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 8 หายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ ในขณะที่กางฝ่ามือและนิ้วทั้ง 5 ออกจนสุด พร้อมกับงอพับข้อมือลงด้านล่างจนสุด

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 9 กรีดนิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วชี้ ทีละนิ้วสลับกันไป

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 10 หายใจออกช้าๆ ผ่อนคลายร่างกาย นำมือซ้ายกลับมาวาง ที่บริเวณต้นขาตามเดิม กลับสู่ท่าเตรียมพร้อม ฝ่ามือคว่ำ กลืนน้ำลาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

    ขั้นต่อไปบริหารข้างขวา ทำเช่นเดียวกับข้างซ้ายทำสลับข้างกันไป ประมาณข้างละ 3 ครั้ง แล้วกลับสู่ท่าเตรียมพร้อม


(5) กายบริหารท่าที่ 4
       ขั้นตอนที่ 1
เริ่มในท่าเตรียมพร้อม

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 2 รักษาท่าพื้นฐานไว้ ยืดตัวเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย งอพับเฉพาะที่ข้อสะโพกเหยียดแขนไปทางด้านหลัง มือทั้งสองจับดึงขอบด้านข้างของเก้าอี้ถัดจากหลังสะโพกไปเล็กน้อยให้ไหล่ทั้งสองถูกดึงแบะไปด้านหลังเต็มที่ กระดูกสะบักชิดกัน ลำตัวเหยียดตรงในท่าพื้นฐาน

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 3 หายใจเข้าช้าๆ ให้ลึกที่สุด ทรวงอกยืดขยายขึ้น ดึงหน้าท้องให้แฟบ กระดูกสะบักชิดกันตลอดเวลา คางชิดคอ ขมิบทวาร

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 4 หายใจออกช้าๆ พร้อมกับเหยียดเท้าและขาซ้ายออกไปข้างหน้าตามแนวที่ขาวางอยู่เดิมจนสุด เข่าเหยียดตึง ยก ้นให้พ้นพื้นเล็กน้อย กลืนน้ำลาย พยายามรักษาท่าพื้นฐาน

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 5 หายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ พร้อมทั้งกระดกเท้าให้ข้อเท้าพับขึ้น นิ้วเท้าแอ่นขึ้นจนสุด พยายามรักษาท่าพื้นฐาน

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

    ขั้นตอนที่ 6 หายใจออกช้าๆ ผ่อนคลาย เท้ายังคงยกพ้นพื้น เข่ายังคงเหยียดตึง รักษาท่าพื้นฐาน กลืนน้ำลาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

       ขั้นตอนที่ 7 หายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ พร้อมทั้งเหยียดปลายเท้าออกไปจนสุด รักษาท่าพื้นฐาน

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 8 หายใจออกช้าๆ ผ่อนคลาย เท้ายังคงยกพ้นพื้น รักษาท่าพื้นฐาน กลืนน้ำลาย

     ขั้นตอนที่ 9 หายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ กระดกข้อเท้าขึ้น และหมุนข้อเท้าออก โดยให้เท้าและนิ้วเท้าวาดเป็นวง จะหมุนกี่รอบก็ได้ แต่หมุนให้กว้างที่สุด ให้เต็มวงมากที่สุด รักษาท่าพื้นฐานไว้

      ขั้นตอนที่ 10 หายใจออกช้าๆ หยุดหมุน ผ่อนคลาย เท้ายังคงยกพ้นพื้น กลืนน้ำลาย รักษาท่าพื้นฐาน

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 11 หายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ กระดกข้อเท้าขึ้น และหมุนข้อเท้าในทิศทางตรงกันข้ามกับครั้งแรก โดยให้เท้าและนิ้วเท้าวาดเป็นวง จะหมุนกี่รอบก็ได้ แต่หมุนให้กว้างที่สุด ให้เต็มวงมากที่สุด รักษาท่าพื้นฐานไว้

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 12 หายใจออกช้าๆ นำเท้าซ้ายกลับมาวางที่เดิม กลืนน้ำลาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

    ขั้นต่อไป บริหารเท้าและขาขวา ทำเช่นเดียวกับเท้าและขาซ้ายทำสลับข้างกัน ประมาณข้างละ 3 ครั้ง รักษาท่าพื้นฐานของท่านไว้เสมอ

 

2. กายบริหารในท่านอน (การบิดขี้เกียจอย่างมีสติ)
      ให้บริหารร่างกายในท่านอนนี้ทุกวัน เวลาเข้านอน และก่อนจะลุกจากที่นอน หรือแม้เวลานอนพัก

(การบริหารท่าที่ 1)
      ขั้นตอนที่ 1 นอนในท่านอนพื้นฐาน

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 2 ประสานมือทั้งสองให้อยู่ในระดับเหนือลำตัว พลิกฝ่ามือออกด้านนอก

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 3 เหยียดแขนออกจนสุด และวาดขึ้นไปทางด้านบนศีรษะ

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 4 วาดแขนจนกระทั่งอยู่เหนือศีรษะ แนบชิดหูทั้งสองสูดลมหายใจเข้าช้าๆ ลึกๆพร้อมกับเหยียดปลายเท้าและเหยียดแขนออกไปให้มากที่สุด หายใจให้ทรวงอกขยาย ดึงหน้าท้องให้แฟบเข้าหากระดูกสันหลัง ไม่แอ่นหลัง คางชิดคอ

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

      ขั้นตอนที่ 5 หายใจออกช้าๆ พร้อมกับลดมือที่ประสานกันมาแตะไว้เหนือศีรษะ ผ่อนคลาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

    ขั้นตอนที่ 6 ยกมือที่ประสานกันผ่านมาทางด้านหน้าและเหยียดแขนไปทางปลายเท้าฝ่ามือหันออก เหยียดแขนลงไปให้เต็มที่ พร้อมทั้งสูดลมหายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ และกระดกข้อเท้ากับปลายเท้าขึ้นให้มากที่สุด ขาเหยียดตึง ดึงหน้าท้องให้แฟบเข้าหากระดูกสันหลัง คางชิดคอ

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 7 หายใจออกช้าๆ ผ่อนคลายทั้งหมด และนำมือที่ประสานกัน วางพักบนหน้าท้อง

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

ทำสลับกันไป ประมาณท่าละ 5 ครั้ง


(2) กายบริหารท่าที่ 2
     ขั้นตอนที่ 1 นอนมือที่ประสานกันวางพักบนหน้าท้อง

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

   ขั้นตอนที่ 2 รักษาท่าพื้นฐาน โดยพยายามให้คางชิดคอ แบะไหล่ไปข้างหลังให้มากที่สุดดึงหน้าท้องให้แฟบเข้าหากระดูกสันหลัง ขาและเข่าเหยียดตึง หายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ พร้อมหมุนข้อเท้าทั้งสองข้าง โดยกระดกเท้าขึ้นแล้วหมุนออกจากกันให้เป็นวงกว้างที่สุด หมุนไปเรื่อยๆอย่างสม่ำเสมอ

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     ขั้นตอนที่ 3 หายใจออก หยุดหมุน ผ่อนคลาย โดยยังรักษาท่าทางเดิมไว้

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

    ขั้นตอนที่ 4 ทำซ้ำโดยหมุนเท้าไปในทิศทางตรงกันข้าม กระดกเท้าขึ้น แล้วหมุนเข้าหากัน ให้เป็นวงกว้างที่สุด หมุนไปเรื่อยๆ อย่างสม่ำเสมอ

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

    ทำสลับกันไปเรื่อยๆ 5-10 รอบ ถ้ากระทำได้ถูกต้อง จะรู้สึกว่ามีการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ตั้งแต่ส่วนขาไปถึงหลัง และท้ายทอย ช่วยทำให้เกิดการจัดกระดูกสันหลังเข้าสู่สมดุล

 

การลุกจากที่นอน
       ตะแคงตัวไปด้านใดด้านหนึ่ง แล้วก็ดันตัวขึ้นมาสู่ท่านั่ง

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี , ความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา , DOU , ดุลยภาพบำบัดในสมัยพุทธกาล , การบริหารเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกาย  , บริหารร่างกาย

     จัดท่าทางให้อยู่ในท่าพื้นฐาน โดยยืดตัวขึ้น ดึงหน้าท้องให้แฟบ และยืดอกขึ้น พร้อมทั้งดึงกระดูกสะบักด้านหลังให้ชิดกัน คางชิดคอ หน้าตั้งตรง ให้หลังคอและท้ายทอยยืดตรงสูดลมหายใจเข้าช้าๆ ลึกๆ ให้ทรวงอกขยายเต็มที่ แล้วหายใจออก ผ่อนคลาย เป็นการจัด มดุลร่างกายให้พร้อมกระทำกิจวัตร กิจกรรมต่อไป

 

บริหารร่างกายแค่ไหนจึงจะพอดี
     คนเราต้องฝึกบริหารร่างกายอย่างน้อยวันละครั้ง แต่ดีที่สุด ควรเป็นวันละ 23 ครั้ง คือตอนเช้าเมื่อตื่นนอน ตอนกลางวัน ช่วงพักจากการทำงาน และตอนเย็นก็บริหารอีกรอบเพื่อจัดโครงสร้างของร่างกายให้เข้าที่ก่อนจะพักผ่อน

     การบริหารจะเกิดประสิทธิผลอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละคนถ้าร่างกายเสียสมดุลเพียงเล็กน้อย ครั้นฝึกเพียงเล็กน้อยก็เข้าที่แล้ว คนที่เสียสมดุลมาก เวลาฝึกจะรู้สึกว่ายาก กรณีเช่นนี้ต้องทำหลายๆ ครั้งโครงสร้างจึงจะเข้าที่

     มีคนไข้คนหนึ่ง ปวดหลัง ปวดคอ ทรมานมาก ครั้นมาฝึกท่าบริหาร ในช่วงแรกเขารู้สึกว่าเป็นเรื่องยากมาก แต่ครั้นพอรู้สึกว่าตนมีอาการดีขึ้น เขาก็เกิดกำลังใจบริหารร่างกายทุกๆ 3 ชั่วโมง 3 วันต่อมา ก็เปลี่ยนเป็นทุกๆ 4 ชั่วโมง เดี๋ยวนี้เขาบริหารร่างกาย วันละ 12 ครั้งก็รู้สึกสบายแล้ว


ข้อควรระวังในการบริหารร่างกาย
     สิ่งที่ต้องระวังในการบริหารร่างกาย คือ อย่าบริหารผิดท่า ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามรายละเอียดที่แนะนำไว้ข้างต้น บางคนนั่งดึงแขนแต่หลังงอ เพียงเท่านี้ก็ถือว่าผิดแล้ว หรือเมื่อเหยียดแขน ถ้ายกไหล่ด้วย ก็จะทำให้กล้ามเนื้อเคลื่อนไปอยู่ผิดที่ เป็นต้นต้องตระหนักไว้เสมอว่า ขณะที่เราฝึกท่าต่างๆ ต้องให้กระดูกสันหลังอยู่ในแนวที่ถูกต้องการวางอวัยวะต่างๆ เช่น แขน ขา ฯลฯ ต้องอยู่ในตำแหน่งถูกต้องตามที่กำหนดไว้

 

 

*----------------------------------------------------------------------------------------------------------*
หนังสือ GB 410 การรักษาสุขภาพตามพุทธวิธี
กลุ่มวิชาความรู้ทั่วไปทางพระพุทธศาสนา

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.0012150486310323 Mins