พระสูตรอาทิตตปริยายสูตร

วันที่ 17 มิย. พ.ศ.2558

พระสูตร อาทิตตปริยายสูตร

อาทิตตปริยายสูตร

 

 

บทขัดอาทิตตปริยายสูตร

เวเนยฺยะทะมะโนปาเย 
สัพฺพะโส ปารมิง คะโต
อะโมฆะวะจะโน พุทฺโธ    
อภิญฺญายานุสาสะโก
จิณฺณานุรูปโต จาปิ
ธมฺเมนะ วินะยัง ปะชัง
จิณฺณาคฺคิปาริจะริยานัง
สัมฺโพชฺฌาระหะโยคินัง
ยะมาทิตฺตะปะริยายัง
เทสะยันฺโต มะโนหะรัง
เต โสตาโร วิโมเจสิ 
วิญฺญูนัง โสตุมิจฺฉะตัง
ทุกฺขะตาลักฺขะโณปายัง
ตัง สุตฺตันฺตัง ภะณามะ เส.ฯ 

 

อาทิตตปริยายสูตร

          เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา คะยายัง วิหะระติ คะยาสีเส สัทธิง ภิกขุสะหัสเสนะ ฯ ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ฯ

           สัพพัง ภิกขะเว อาทิตตัง ฯ กิญจะ ภิกขะเว สัพพัง อาทิตตัง ฯ จักขุง ภิกขะเว อาทิตตัง รูปา อาทิตตา จักขุวิญญาณัง อาทิตตัง จักขุสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ อาทิตตัง เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ 

          โสตัง อาทิตตัง สัททา อาทิตตา โสตะวิญญาณัง อาทิตตัง โสตะสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะ ปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ 

          อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ 

          ฆานัง อาทิตตัง คันธา อาทิตตา ฆานะวิญญาณัง อาทิตตัง ฆานะสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง อาทิตตัง ราคัคคินา อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ 

          ชิวหา อาทิตตา ระสา อาทิตตา ชิวหาวิญญาณัง อาทิตตัง ชิวหาสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ 

          กาโย อาทิตโต โผฏฐัพพา อาทิตตา กายะวิญญาณัง อาทิตตัง กายะสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ
          มะโน อาทิตโต ธัมมา อาทิตตา มะโนวิญญาณัง อาทิตตัง มะโนสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ (หยุด) 

          เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว  สุตฺวา อะริยะสาวะโก จักขุสสะมิงปิ นิพพินทะติ รูเปสุปิ นิพพินทะติ จักขุวิญญาเณปิ นิพพินทะติ จักขุสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัสมิงปิ นิพพินทะติ 

          โสตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ สัทเทสุปิ นิพพินทะติ โสตะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ โสตะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ
ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัสมิงปิ นิพพินทะติ ฯ 

          ฆานัสสะมิงปิ นิพพินทะติ คันเธสุปิ นิพพินทะติ ฆานะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ ฆานะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัสมิงปิ นิพพินทะติ ฯ

          ชิวหายะปิ นิพพินทะติ ระเสสุปิ นิพพินทะติ ชิวหาวิญญาเณปิ นิพพินทะติ ชิวหาสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัสมิงปิ นิพพินทะติ ฯ 

          กายัสสะมิงปิ นิพพินทะติ โผฏฐัพเพสุปิ นิพพินทะติ กายะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ กายะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัสมิงปิ นิพพินทะติ ฯ 

          มะนัสสะมิงปิ นิพพินทะติ ธัมเมสุปิ นิพพินทะติ มะโนวิญญาเณปิ นิพพินทะติ มะโนสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัสมิงปิ นิพพินทะติ 

          นิพพินทัง วิรัชชะติ วิราคา วิมุจจะติ วิมุตตัสสะมิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ ขีณา ชาติ วุสิตัง พรัหมะจะริยัง กะตัง กะระณียัง นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ ฯ

          อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ 

          อิมัสฺมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสฺมิง ภัญญะมาเน ตัสสะ ภิกขุสะหัสสัสสะ อะนุปาทายะ อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสูติ ฯ

 

Untitled-3.jpg
 
บทแปล อาทิตตปริยายสูตร


              เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา คะยายัง วิหะระติ คะยาสีเส สัทธิง ภิกขุ สะหัสเสนะ ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ
                ข้าพเจ้าได้ฟังมา ในสมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จประทับยับยั้งอยู่ที่ตำบลคยาสีสะ ใกล้แม่น้ำคยา พร้อมด้วยพระภิกษุประมาณ ๑,๐๐๐ รูป ในกาลครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสเตือนสติภิกษุเหล่านั้น ตามพุทธภาษิตของพระองค์อย่างนี้ว่า
สัพพัง ภิกขะเว อาทิตตัง , ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน 
กิญจะ ภิกขะเว สัพพัง อาทิตตัง , ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า ที่ชื่อว่าเป็นของร้อน
 
                จักขุง ภิกขะเว อาทิตตัง, ภิกษุทั้งหลาย ตา เป็นของร้อน 
รูปา อาทิตตา, รูปทั้งหลาย เป็นของร้อน 
จักขุวิญญาณัง อาทิตตัง, ความรู้อารมณ์ทางตา เป็นของร้อน
จักขุสัมผัสโส อาทิตโต, การสัมผัสทางตา เป็นของร้อน 
ยัมปิทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, ความรู้สึกเสวยอารมณ์ที่เกิดขึ้นเพราะอาศัย ตาสัมผัสรูป เป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, จะรู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือรู้สึกไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัมปิ อาทิตตัง, แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อนที่ใจ 

                เกนะ อาทิตตัง, ร้อนเพราะอะไร 
อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ 
อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, ร้อนเพราะความเกิด แก่ และความตาย 
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน 
โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ คับแค้นใจ 
อาทิตตันติ วะทามิ , เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็นของร้อน ฯ 

                โสตัง อาทิตตัง, หู เป็นของร้อน 
สัททา อาทิตตา, เสียง เป็นของร้อน 
โสตะวิญญาณัง อาทิตตัง, ความรู้อารมณ์ทางหู เป็นของร้อน
โสตะสัมผัสโส อาทิตโต, การสัมผัสทางหู เป็นของร้อน 
ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้เกิดขึ้นได้ เพราะอาศัยหูสัมผัสเสียงเป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, จะรู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัมปิ อาทิตตัง , แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อนที่ใจ 

                เกนะ อาทิตตัง, ร้อนเพราะอะไรเล่า ?
อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ 
อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, ร้อนเพราะความเกิด แก่ และความตาย 
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร้ำไรรำพัน 
โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ คับแค้นใจ 
อาทิตตันติ วะทามิ , เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็นของร้อน ฯ 


                ฆานัง อาทิตตัง, จมูก เป็นของร้อน 
คันธา อาทิตตา, กลิ่นทั้งหลายเป็นของร้อน 
ฆานะวิญญาณัง อาทิตตัง, ความรู้อารมณ์ทาง จมูก เป็นของร้อน
ฆานะสัมผัสโส อาทิตโต, การสัมผัสทางจมูก เป็นของร้อน 
ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้เกิดขึ้นได้ เพราะอาศัยจมูกสัมผัสกลิ่นเป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัมปิ อาทิตตัง , แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อนที่ใจ 

                เกนะ อาทิตตัง , ร้อนเพราะอะไร ?
อาทิตตัง ราคัคคินา ,ร้อนเพราะไปคือราคะ 
อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ 
อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, ร้อนเพราะความเกิด แก่ และความตาย 
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน 
โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ความแค้นใจ 
อาทิตตันติ วะทามิ , เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็นของร้อน 


                ชิวหา อาทิตตา, ลิ้นเป็นของร้อน 
ระสา อาทิตตา, รสทั้งหลายเป็นของร้อน 
ชิวหาวิญญาณัง อาทิตตัง, ความรู้อารมณ์ทางลิ้นเป็นของร้อน 
ชิวหาสัมผัสโส อาทิตโต, การสัมผัสทางลิ้นเป็นของร้อน 
ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้เกิดขึ้นได้ เพราะอาศัยลิ้นสัมผัสรสเป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่มุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัมปิ อาทิตตัง , แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อนที่ใจ 

                เกนะ อาทิตตัง , ร้อนเพราะอะไร ?
อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ 
อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, ร้อนเพราะความเกิด แก่ และความตาย 
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน 
โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ 
อาทิตตันติ วะทามิ , เรากล่าวว่า นี้เป็นของร้อน 


                กาโย อาทิตโต, กายเป็นของร้อน 
โผฏฐัพพา อาทิตตา, สิ่งที่มาถูกต้องกายเป็นของร้อน 
กายะวิญญาณัง อาทิตตัง, ความรู้อารมณ์ทางกายเป็นของร้อน 
กายะสัมผัสโส อาทิตโต, การสัมผัสทางกายเป็นของร้อน 
ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้ เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางกายเป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัมปิ อาทิตตัง , แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อนที่ใจ 

                เกนะ อาทิตตัง , ร้อนเพราะอะไร ?
อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ 
อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, ร้อนเพราะความเกิด แก่ และความตาย 
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน 
โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ คับแค้นใจ 
อาทิตตันติ วะทามิ , เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็นของร้อน 


                มะโน อาทิตโต, ใจเป็นของร้อน 
ธัมมา อาทิตตา, อารมณ์ที่เกิดกับใจเป็นของร้อน 
มะโนวิญญาณัง อาทิตตัง, ความรู้อารมณ์ทางใจเป็นของร้อน 
มะโนสัมผัสโส อาทิตโต, การสัมผัสทางใจ เป็นของร้อน 
ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้ เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางใจ เป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัมปิ อาทิตตัง , แม้อันนั้น ก็เป็นของร้อนที่ใจ 

                เกนะ อาทิตตัง , ร้อนเพราะอะไร ?
อาทิตตัง ราคัคคินา  โทสัคคินา โมหัคคินา , ร้อนเพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ 
อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ, ร้อนเพราะความเกิด แก่และความตาย 
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ, ร้อนเพราะความเศร้าโศก ความร่ำไรรำพัน 
โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ความไม่สบายกายไม่สบายใจ คับแค้นใจ 
อาทิตตันติ วะทามิ , เราจึงกล่าวว่า เหล่านี้เป็นของร้อน 


                เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว , ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้สดับฟังแล้ว 
สุตฺวา อะริยะสาวะโก , ย่อมเห็นอยู่อย่างนี้ 
จักขุสสะมิงปิ นิพพินทะติ, อริยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย ตา 
รูเปสุปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย รูปทั้งหลาย 
จักขุวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่ายในการเสวยอารมณ์ทางตา 
จักขุสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่ายในการสัมผัส ด้วยตา 
ยัมปิทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง,  เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้ เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางตา เป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู้สึกนั้นๆ 
เพราะมันเป็นเหตุทำให้ใจเร่าร้อน 


                โสตัสสะมิงปิ นิพพินทะติ, อริยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย หู 
สัทเทสุปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่ายใน เสียงทั้งหลาย 
โสตะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย อารมณ์ทีเกิดขึ้น ทางหู 
โสตะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในการสัมผัส ทางหู 
ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง,  เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้ เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางหู เป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู้สึกนั้นๆ เพราะมันเป็นเหตุทำให้ใจเร่าร้อน 


                ฆานัสสะมิงปิ นิพพินทะติ, อริยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย จมูก 
คันเธสุปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในกลิ่น 
ฆานะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย ในการเสวยอารมณ์ทางจมูก 
ฆานะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในการสัมผัสทางจมูก 
ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้ เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางจมูกเป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู้สึกนั้นๆ เพราะมันเป็นเหตุทำให้ใจเร่าร้อน 


                ชิวหายะปิ นิพพินทะติ, อริยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย ลิ้น 
ระเสสุปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย แม้ใน รส 
ชิวหาวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย ในการเสวยอารมณ์ ทางลิ้น 
ชิวหาสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในการสัมผัส ทางลิ้น 
ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้ เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางลิ้น เป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู้สึกนั้นๆ เพราะมันเป็นเหตุทำให้ใจเร่าร้อน 


                กายัสสะมิงปิ นิพพินทะติ, อริยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย ในกาย 
โผฏฐัพเพสุปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย ในสิ่งที่ถูกต้องทางกาย 
กายะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย ในการเสวยอารมณ์ ทางกาย 
กายะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในการสัมผัส ทางกาย 
ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้ เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางกาย เป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู้สึกนั้นๆ เพราะมันเป็นเหตุทำให้ใจเร่าร้อน 


                มะนัสสะมิงปิ นิพพินทะติ, อริยสาวกเหล่านั้น ย่อมเบื่อหน่าย ใจ 
ธัมเมสุปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย ในธัมมารมณ์ที่เกิดกับใจ 
มะโนวิญญาเณปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย ในการเสวยอารมณ์ ทางใจ 
มะโนสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ, ย่อมเบื่อหน่าย แม้ในการสัมผัส ทางใจ 
ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง, เวทนาความรู้สึกเสวยอารมณ์นี้ เกิดขึ้น เพราะอาศัยการสัมผัสทางใจ เป็นปัจจัย 
สุขัง วา ทุกขัง วา, รู้สึกเป็นสุขก็ตาม เป็นทุกข์ก็ตาม 
อะทุกขะมะสุขัง วา, หรือไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุขก็ตาม 
ตัสมิงปิ นิพพินทะติ , ย่อมเบื่อหน่ายในเวทนา คือความรู้สึกนั้นๆ เพราะมันเป็นเหตุทำให้ใจเร่าร้อน 


                นิพพินทัง วิรัชชะติ , เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด ไม่ยินดี 
วิราคา วิมุจจะติ , เพราะสิ้นกำหนัดไม่ยินดี จิตก็หลุดพ้น 
วิมุตตัสสะมิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ ,  เมื่อจิตหลุดพ้น ญาณก็หยั่งรู้ว่าจิตพ้นแล้ว 
ขีณา ชาติ, อริยสาวกนั้นย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว 
วุสิตัง พรัหมะจะริยัง, พรหมจรรย์บริสุทธิ์หมดจด อยู่จบแล้ว 
กะตัง กะระณียัง, กิจที่ควรกระทำ ได้กระทำสำเร็จแล้ว 
นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ ,  กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ ก็ไม่มีอีกแล้ว 

                อิทะมะโวจะ ภะคะวา , พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสธรรมอันเป็น เหตุให้ใจเร่าร้อน โดยปริยายอันนี้แล้ว 
อัตตะมะนา เต ภิกขู ภิกษุเหล่านั้น ต่างก็มีใจยินดี ชื่นชมใน 
ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง , พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า 
อิมัสฺมิญจะ ปะนะ , ก็เมื่อตรัส เวยยากรณ์ภาษิต ละเอียดพิศดาร 
เวยยากะระณัสฺมิง ภัญญะมาเน , ในธรรมอันเป็นเหตุให้ใจเร่าร้อน ขณะนั่นแล 
ตัสสะ ภิกขุสะหัสสัสสะ อะนุปาทายะ , ภิกษุหนึ่งพันรูปนั้นก็พ้นจากอุปาทานทั้งหลาย 
อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสูติ , จิตหลุดพ้นจากอาสวะกิเลสทั้งปวง เพราะไม่ยึดมั่นถือมั่น ดังนี้แล

 

1.png


** อ้างอิงจากหนังสือสวดมนต์ ฉบับวัดพระธรรมกาย **
เหมาะสำหรับพระภิกษุสามเณรและพุทธศาสนิกชนทุกท่าน 
รวบรวมและเรียบเรียงโดย กองวิชาการ (๐๑) วัดพระธรรมกาย

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.0049134016036987 Mins