ภิกขุปาฏิโมกข์ ปุพฺพกิจฺจานิ

วันที่ 30 พย. พ.ศ.2558

ภิกขุปาฏิโมกข์

ปุพฺพกิจฺจานิ
 

581130_01.jpg
 


ปุพฺพกิจฺจานิ

      อุโปสถกรณโต*  ปุพฺเพ นววิธํ ปุพฺพกิจฺจํ กาตพฺพํ โหติ . / ตณฺฐานสมฺมชฺชนฺจ ตตฺถ ปทีปุชฺชลนฺจ / อาสนปฺญปนฺจ ปานียปริโภชนียูปฏฐปนฺจ / ฉนฺทารหานํ ภิกฺขูนํ ฉนฺทาหรณฺจ / เตสฺเญว อกตุโปสถานํ ปาริสุทฺธิยาป * / อาหรณฺจ อุตุกฺขานฺจ ภิกฺขุคณนา จ ภิกฺขุนีนโมวาโท จาติ. /

      ตตฺถ ปุริมานิ จตฺตาริ*  ภิกฺขูนํ วตฺตํ ชานนฺเตหิ อารามิเกหิปิ ภิกฺขูหิปิ * กตานิ ปรินิฏฺฐินาติ โหนฺติ. /

      ฉนฺทาหรณ ปาริสุทฺธิ* อาหรณานิ ปน อิมิสฺสํ พทฺธสีมายํ*/  หตฺถปาสํ วิชหิตฺวา นิสินฺนานํ ภิกฺขูนํ อภาวโต นตฺถิ. /

      อุตุกฺขานํนาม เอตฺตกํอติกฺกนฺตํ, เอตฺตกํอวสิฏฐนฺติเอวํอุตุอาจิกฺขนํ; / อุตูนีธ ปน สาสเน เหมนฺตคิมฺหวสฺสานานํ วเสน ตีณิโหนฺติ. / อยํเหมนฺโตตุ* อิมสฺมิญฺจ อุตุมฺหิ อฏฐอุโปสถา, / อิมินา ปกฺเขน เอโกอุโปสโถ สมฺปตฺโต. / สตฺต อุโปสถา อวสิฏฐา,* /  อิติ เอวํ สพฺเพหิ อายสฺมนฺเตหิ อุตุกฺขานํ ธาเรตพฺพํ. /

(รับว่า เอวํ ภนฺเต พร้อมกัน)

      ภิกฺขุคณนา นาม อิมสฺมึอุโปสถคเคฺ / อุโปสถตฺถาย* สนฺนิปติตา ภิกฺขูเอตฺตกาติ ภิกฺขูนํ คณนา. / อิมสฺมิมฺปน อุโปสถคฺเค* จตฺตาโร ภิกฺขู* สนฺนิปติตา โหนฺติ. /

      อิติ เอวํ ภนฺเต สพฺเพหิ อายสฺมนฺเตหิ ภิกฺขุคณนาปิ  ธาเรตพฺพา. /

(รับว่า เอวํ ภนฺเต พร้อมกัน)

      ภิกฺขุนีนโมวาโท ปน อิทานิ ตาสํ นตฺถิตาย นตฺถิ. / อิติสกรโณกาสานํปุพฺพกิจฺจานํกตตฺตา, / นิกฺกรโณกาสานํ ปุพฺพกิจฺจานํ ปกติยา ปรินิฏฐิตตฺตา, / เอวนฺตํ นววิธํ ปุพฺพกิจฺจํ ปรินิฏฐิตํโหติ. /

      นิฏฐิเต จ ปุพฺพกิจฺเจ สเจ โส ทิวโส จาตุทฺทสีปณฺณรสี- สามคฺคีนมฺญตโร / ยถาชฺช อุโปสโถ* ปณฺณรโส* ยาวติกา จ ภิกฺขูกมฺมปฺปตฺตา / สงฺฆุโปสถารหาจตฺตาโร* วา ตโต วา อติเรกา ปกตตฺา ปาราชิกฺ อนาปนฺนา / สงฺเฆน วา อนุกฺขิตฺตา, เต จ โข หตฺถปาสํ อวิชหิตฺวา เอกสีมายํ ฐิตา, / เตสญฺจ วิกาลโภชนาทิวเสน วตฺถุสภาคาปตฺติโย เจ น วิชฺชนฺติ; / เตสญฺจ หตฺถปาเส หตฺถปาสโต พหิกรณวเสน / วชฺเชตพฺโพ โกจิ วชฺชนียปุคฺคโล  เจ นตฺถิ. /

      เอวนฺตํ อุโปสถกมฺมํ* อิเมหิจตูหิ ลกฺขเณหิ สงฺคหิตํ / ปตฺตกลฺลํ นาม โหติ กาตุ ยุตฺตรูปํ. /  อุโปสถกมฺมสฺส* ปตฺตกลฺลตฺต วิทิตฺวา / อิทานิ กริยมาโน อุโปสโถ สงฺเฆน อนุมาเนตพฺโพ* /

(รับว่า สาธุ พร้อมกัน)
 

Untitled-5.jpg

บุพพกรณ์-บุพพกิจ(แปล)

ปุพฺพกิจฺจานิ  
บุรพกิจ
อุโปสถกรณโต ปุพฺเพ
ก่อนแต่ทําอุโบสถ
นววิธํ ปุพฺพกิจฺจํ กาตพฺพํ โหติ
พึงทําบุรพกิจ ๙ ประการ
ตณฺฐานสมฺมชฺชนฺจ
คือ กวาดสถานที่ทําอุโบสถนั้น ๑
ตตฺถ ปทีปุชฺชลนฺจ
จุดประทีปในที่นั้น ๑
อาสนปฺญปนฺจ
แต่งตั้งอาสนะ ๑
ปานียปริโภชนียูปฏฐปนฺจ
 ตั้งน้ําฉันน้ําใช้ ๑
ฉนฺทารหานํ ภิกฺขูนํ ฉนฺทาหรณฺจ
นําฉันทะของภิกษุผู้ควรแก่ฉันทะ ๑
เตสญฺเญว อกตุโปสถานํ ปาริสุทฺธิยาปิ
นําปาริสุทธิของเธอผู้ลงทําอุโบสถไม่ได้ ๑
อาหรณญฺจ
อุตุกฺขานญฺจ 
บอกฤดู ๑
ภิกฺขุคณนา จ
นับภิกษุ ๑
ภิกฺขุนีนโมวาโท จาติ
สอนพวกภิกษุณี ๑
ตตฺถ ปุริมานิ จตฺตาริ
ในบุรพกิจ ๙ นั้น ๔ เบื้องต้น 
อตฺถิตาย นตฺถิ๑, อปรานิตีณิภิกฺขูนํวตฺตํ.
ภิกฺขูนํวตฺตํชานนฺเตหิอารามิเกหิปิ
 อันคนเฝ้าอาราม และภิกษุทั้งหลายผู้รู้วัตร
ภิกฺขูหิปิ
ของพวกภิกษุ
กตานิปรินิฏฺฐิตานิโหนฺติ
 ทําสําเร็จแล้ว
ฉนฺทาหรณ ปาริสุทฺธิ* อาหรณานิ
ส่วนการนําฉันทะนําปาริสุทธิ
ปน อิมิสฺสํสีมายํหตฺถปาสํวิชหิตฺวา 
 ไม่มีเพราะภิกษุทั้งหลายผู้นั่งเว้น
นิสินฺนานํภิกฺขูนํอภาวโต นตฺถิ
หัตถบาสในสีมานี้ไม่มี
อุตุกฺขานํนาม เอตฺตกํอติกฺกนฺตํ,    
การบอกฤดูโดยนัยดังนี้ว่าล่วงเท่านี้
เอตฺตกํอวสิฏฺฐนฺติเอวํอุตุอาจิกฺขน;
 เหลือเท่านี้ชื่อว่าบอกฤดู
อุตูนีธ ปน สาสเน เหมนฺตคิมฺหวสฺสานานํ   
ก็ในศาสนานี้มี๓ ฤดูด้วยอํานาจแห่ง
วเสน ตีณิโหนฺติ
 ฤดูหนาวฤดูร้อน ฤดูฝน
อยํเหมนฺโตตุ
ก็ฤดูนี้ เป็นฤดูหนาว
อสฺมิญฺจอุตุมฺหิอฏฺฐอุโปสถา
ในฤดูหนาวนี้ มี๘ อุโบสถ
อิมินา ปกฺเขน เอโกอุโปสโถ สมฺปตฺโต 
อุโบสถหนึ่งถึงด้วยปักข์อันนี้
สตฺตอุโปสถาอวสิฏฺฐา* อิติเอวํสพฺเพหิ 
 ยังเหลือ ๗ อุโบสถ ท่านทั้งปวง พึงจําการ
อายสฺมนฺเตหิอุตุกฺขานํฑาเรตพฺพํ.  
 บอกฤดูอย่างนี้ด้วยประการฉะนี้
ภิกฺขุคณนา นาม อิมสฺมึอุโปสถคเคฺ
การนับภิกษุโดยนัยนี้ว่า ภิกษุทั้งหลาย
อุโปสถตฺถาย* สนฺนิปติตา ภิกฺขูเอตฺตกาติ 
ผู้ประชุมกันเพื่อประสงค์ทําอุโบสถใน
ภิกฺขูนํคณนา
โรงอุโบสถนี้เท่านี้รูป ดังนี้ชื่อว่าการนับภิกษุ
อิมสฺมิมฺปน อุโปสถคฺเค๙ จตฺตาโร ภิกฺขู 
ก็ในโรงอุโบสถนี้มีภิกษุประชุมกัน ๔ รูป
สนฺนิปติตา โหนฺติ.
อิติสพฺเพหิอายสฺมนฺเตหิภิกฺขุคณนาปิ
ท่านทั้งปวงพึงจําแม้การนับภิกษุด้วย
ธาเรตพฺพา
ประการฉะนี้
ภิกฺขุนีนโมวาโท ปน อิทานิ ตาสํ
การสอนภิกษุณีไม่มีเพราะ
นตฺถิตาย นตฺถิ.  
พวกภิกษุณีนั้น เวลานี้ไม่มี
อิติสกรโณกาสานํปุพฺพกิจฺจานํกตตฺตา,
 เพราะบุรพกิจซึ่งมีโอกาสพอจะทําได้ทําแล้ว
นิกฺกรโณกาสานํปุพฺพกิจฺจานํปกติยา
 เพราะให้บุรพกิจซึ่งหมดโอกาสจะทําสําเร็จ
ปรินิฏฺฐิตตฺตา, 
ไปเรียบร้อยแล้วตามปรกติด้วยประการฉะนี้
เอวนฺตํนววิธํปุพฺพกิจฺจํปรินิฏฺฐิตํโหติ
บุรพกิจ๙ประการนั้น จึงเป็นอันสําเร็จเรียบร้อยแล้วด้วยประการอย่างนี้
นิฏฺฐิเต จ ปุพฺพกิจฺเจ
ก็เมื่อบุรพกิจสําเร็จแล้ว
สเจ โส ทิวโส จาตุทฺทสีปณฺณรสี-
ถ้าวันนั้นเป็นวันจาตุททสีหรือวันปัณณรสี
สามคฺคีนมฺญตโร
หรือเป็นวันสามัคคี วันใดวันหนึ่ง
ยถาชฺช อุโปสโถ  ปณฺณรโส
 เช่น อุโบสถวันนี้ที่ ๑๕
ยาวติกาจ ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา สงฺฆุโป-
ก็แลภิกษุผู้ควรแต่สังฆอุโบสถ พอทําสําเร็จ
สถารหาจตฺตาโร๑๓ วาตโตวาอติเรกา
ได้มีกําหนด ๔ รูปก็ดีเกินกว่านั้นก็ดีเป็น
ปกตตฺา ปาราชิกฺ อนาปนฺนา  
 ปกตัตต์ ไม่ต้องปาราชิก
สงฺเฆน วา อนุกฺขิตฺตา,
หรือไม่ถูกสงฆ์ยกวัตร
เต จ โข หตฺถปาสํ อวิชหิตฺวา
ทั้งเธอไม่ละหัตถบาสแล
เอกสีมายํ ฐิตา,
ตั้งอยู่ในสีมาเดียวกัน
เตสญฺจ วิกาลโภชนาทิวเสน วตฺถุสภาคา-
และถ้าเธอไม่มีสภาคาบัติโดยวัตถุเพราะ
ปตฺติโย เจ น วิชฺชนฺติ;
ฉันอาหารในเวลาวิกาลเป็นต้น
เตสญฺจ หตฺถปาเส หตฺถปาสโต พหิกรณ-
 และถ้าไม่มีบุคคลควรเว้นไรๆในหัตถบาส
วเสน วชฺเชตพฺโพ โกจิวชฺชนียปุคฺคโล เจ นตฺถิ.
 ซึ่งควรเว้น ด้วยกันไว้เสียภายนอกหัตถบาส
เอวนฺตํ อุโปสถกมฺมํ* อิเมหิ จตูหิ
อุโบสถกรรมนั้น กําหนดแล้วด้วยลักษณะ
ลกฺขเณหิสงฺคหิตํปตฺตกลฺลํนาม โหติ
ทั้ง ๔ นี้ชื่อว่ามีความพร้อมพรั่งถึงที่แล้ว
กาตุ ยุตฺตรูปํ. 
 สมควรทําได้ด้วยประการฉะนี้.
อุโปสถกมฺมสฺส  ปตฺตกลฺลตฺตวิทิตฺวา
 สงฆ์ทราบความพร้อมพรั่งถึงที่แห่งอุโบสถ
อิทานิกริยมาโน อุโปสโถ สงฺเฆน อนุมาเนตพฺโพ
กรรมแล้ว พึงให้อนุมัติอุโบสถที่จะกระทํา ณ กาลบัดนี้.


Untitled-5.jpg


บุพพกรณ์-บุพพกิจ(แปล)

ก่อนแต่ทำอุโบสถ พึงทำบุรพกิจ 9 ประการ คือ
      กวาดสถานที่ทำอุโบสถนั้น
      จุดประทีปในที่นั้น
      แต่งตั้งอาสนะ
      ตั้งน้ำฉันน้ำใช้
      น้ำฉันทะของภิกษุผู้ควรแก่ฉันทะ
      บอกฤดู
       นำปาริสุทธิของเธอ ผู้ลงทำอุโบสถไม่ได้
      นับภิกษุ
      สอนพวกภิกษุณี

ในบุพพกิจ 9 นั้น 4 เบื้องต้น อันคนเฝ้าอาราม และภิกษุทั้งหลายผุ้รู้วัตรของพวกภิกษุ ทำสำเร็จแล้ว.

ส่วนการนำฉันทะ นำปาริสุทธิไม่มี เพราะภิกษุทั้งหลาย ผู้นั่้งเว้นหัตถบาส ในสีมานี้ไม่มี

      การบอกฤดูโดยนัยดังนี้ว่า ล่วงเท่านี้ เหลือเท่านี้ ชื่อว่าบอกฤดู ก็ในศาสนานี้มี 3 ฤดู ด้วยอำนาจแห่งฤดูหนาว ฤดูร้อน ฤดูฝน. ก็ฤดูนี้เป็นฤดูหนาว ในฤดูหนาวนี้มี 8 อุโบสถ อุโบสถหนึ่งถือด้วยปักษ์อันนี้ ยังเหลือ 7 อุโบสถ ท่านทั้งปวงพึงจำการบอกฤดูอย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.

      การนับภิกษุโดยนัยนี้ว่า ล่วงเท่านี้ เหลือเท่านี้ ชื่อว่าบอกฤดู ก็ในศาสนานี้มี 3 ฤดู ด้วยอำนาจแห่งฤดูหนาว ฤดูร้อน ฤดูฝน. ก็ฤดูนี้เป็นฤดูหนาว ในฤดูหนาวนี้มี 8 อุโบสถ อุโบสถหนึ่งถึงด้วยปักษ์อันนี้ ยังเหลือ 7 อุโบสถ ท่านทั้งปวงพึงจำการบอกฤดูอย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.

      การนับภิกษุโดยนัยนี้ว่า ภิกษุทั้งหลายผู้ประชุมกัน เพื่อประสงค์ทำอุโบสถในโรงอุโบสถนี้ เท่านี้รูป ดังนี้ ชื่อว่าการนับภิกษุ. ก็ในโรงอุโบสถนี้มีภิกษุประชุมกัน 4 รูป ท่านทั้งปวง พึงจำแม้การนับภิกษุ ด้วยประการฉะนี้.

      ก็การสอนภิกษุณีไม่มี เพราะพวกภิกษุณีนั้น ในเวลานี้ไม่มี.เพราะบุพพกิจซึ่งมีโอกาสพอจะทำ ได้ทำแล้ว เพราะให้บุพพกิจ ซึ่งหมดโอกาสจะทำสำเร็จไปเรียบร้อยแล้วตามปกติ ด้วยประการฉะนี้ บุรพกิจ 9 ประการนั้น จึงเป็นอันสำเร็จเรียบร้อยแล้วด้วยประการอย่างนี้.

      ก็เมื่อบุพพกิจสำเร็จแล้ว ถ้าวันนั้นเป็นวันจาตุททสี หรือวันปัณณรสี หรือเป็นวันสามัคคี วันใดวันหนึ่ง เช่น อุโบสถวันนี้ที่ 15 ก็แลภิกษุผุ้ควรแก่สังฆอุโบสถ พอทำสำเร็จได้มีกำหนด 4 รูปก็ดี เกินกว่านั้นก็ดี เป็นปกตัตตะภิกษุ (ภิกษุปกติ) ไม่ต้องปาราชิก หรือไม่ถูกสงฆ์ยกวัตร ทั้งเธอไม่ละหัตถบาสแล ตั้งอยู่ในสีมาเดียวกัน และถ้าเธอไม่มีสภาคาบัติโดยวัตถุ เพราะฉันอาหารในเวลาวิกาลเป็นต้น และถ้าไม่มีบุคคลควรเว้นไร ๆ ในหัตถบาสซึ่งควรเว้น ด้วยกันไว้เสียนอกหัตถบาส อุโบสถกรรมนั้นกำหนดแล้วด้วยลักษณะทั้ง 4 นี้ ชื่อว่ามีความพร้อมพรั่งถึงที่แล้ว สมควรทำได้ ด้วยประการฉะนี้.

      สงฆ์ทราบความพร้อมพรั่งถึงที่แห่งอุโบสถกรรมแล้ว พึงให้อนุมัติอุโบสถที่จะกระทำ ณ กาลบัดนี้.
 

 


อ้างอิงบทสวดและคำแปลจาก 
http://www.dmc.tv/forum/uploads/post-323-1156305445.ipb

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.048085184892019 Mins