ภิกขุปาฏิโมกข์
ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ
ความเบื้องต้น (นโมฯ สุณาตุ เม ภันเตฯ)
ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส.
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส.
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส.
สุณาตุเม ภนฺเต สงฺโฆ. / อชฺชุโปสโถ ปณฺณรโส.* / ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, / สงฺโฆ อุโปสถํกเรยฺย, / ปาฏิโมกฺขํอุทฺทิเสยฺย /
กึ สงฺฆสฺส ปุพฺพกิจฺจํ, ปาริสุทฺธึอายสฺมนฺโตอาโรเจถ, / ปาฏิโมกฺขํ อุทฺทิสิสฺสามิ. / ตํสพฺเพว สนฺตา สาธุกํสุโณม มนสิกโรม. / ยสฺส สิยา อาปตฺติ, โส อาวิกเรยฺย, / อสนฺติยา อาปตฺติยา ตุณฺหี ภวิตพฺพํ. / ตุณฺหีภาเวน โข ปนายสฺมนฺเต ปริสุทฺธาติ เวทิสฺสามิ. / ยถา โข ปน ปจฺเจกปุฏฺฐสฺส เวยฺยากรณํ โหติ, / เอวเมวํ เอวรูปาย ปริสาย ยาวตติยํ อนุสฺสาวิตํ โหติ. / โย ปน ภิกฺขุ ยาวตติยํ อนุสฺสาวิยมาเน สรมาโน / สนฺตึ อาปตฺตึ นาวิกเรยฺย, / สมฺปชานมุสาวาทสฺส โหติ, / สมฺปชานมุสาวาโท โข ปนายสฺมนฺโต / อนฺตรายิโก ธมฺโม วุตฺโต ภควตา; / ตสฺมา สรมาเนน ภิกฺขุนา อาปนฺเนน วิสุทฺธาเปกฺเขน / สนฺตี อาปตฺติ อาวิกาตพฺพา. / อาวิกตา หิสฺส ผาสุ โหติ.
นิทานํ นิฏฺฐิตํ. /
* ถ้าเป็น ๑๕ ค่ำ พึงว่า จาตุทฺทโส
ภิกขุปาฏิโมกข์แปล
ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ
ภิกขุปาฏิโมกข์แปล
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส.
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาค อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น
สุณาตุเม ภนฺเต สงฺโฆ
ท่านเจ้าข้าขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า
อชฺชุโปสโถ ปณฺณรโส
อุโบสถวันนี้ที่๑๕
ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ,
ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว
สงฺโฆ อุโปสถํกเรยฺย,
สงฆ์พึงทําอุโบสถ
ปาฏิโมกฺขํอุทฺทิเสยฺย
พึงแสดงซึ่งปาฏิโมกข์
กึ สงฺฆสฺส ปุพฺพกิจฺจํ,
บุรพกิจอะไรๆของสงฆ์ก็ทําสําเร็จแล้ว
ปาริสุทฺธึอายสฺมนฺโตอาโรเจถ,
ท่านทั้งหลายพึงบอกความบริสุทธิ์ข้าพเจ้าจัก แสดงซึ่งปาฏิโมกข์
ตํสพฺเพว สนฺตา สาธุกํสุโณม
พวกเราบรรดาที่มีอยู่ทั้งหมดจงฟังจงใส่ใจ
มนสิกโรม.
ซึ่งปาฏิโมกข์นั้น ให้สําเร็จประโยชน์
ยสฺส สิยา อาปตฺติ,
ผู้ใดหากมีอาบัติ
โส อาวิกเรยฺย,
ผู้นั้นก็พึงเปิดเผยเสีย
อสนฺติยา อาปตฺติยา ตุณฺหี ภวิตพฺพํ.
เมื่ออาบัติไม่มีก็พึงนิ่งอยู่
ตุณฺหีภาเวน โข ปนายสฺมนฺเต ปริสุทฺธาติ
ก็เพราะความเป็นผู้นิ่งแล ข้าพเจ้าจักทราบ
เวทิสฺสามิ.
ท่านทั้งหลายว่า เป็นผู้บริสุทธิ์
ยถา โข ปน ปจฺเจกปุฏฺฐสฺส เวยฺยากรณํ
ก็การสวดประกาศให้ได้ยินมีกําหนด ๓ ครั้ง
โหติ, เอวเมวํ เอวรูปาย ปริสาย
ในบริษัทเห็นปานนี้อย่างนี้เป็นเหมือนถูก
ยาวตติยํ อนุสฺสาวิตํ โหติ.
ถามตอบเฉพาะองค์
โย ปน ภิกฺขุ ยาวตติยํ อนุสฺสาวิยมาเน
ก็ภิกษุใดเมื่อสวดประกาศจบครั้งที่ ๓ ระลึก
สรมาโน
(อาบัติ)ได้อยู่
สนฺตึ อาปตฺตึ นาวิกเรยฺย,
ไม่พึงเปิดเผยอาบัติซึ่งมีอยู่
สมฺปชานมุสาวาทสฺส โหติ,
สัมปชานมุสาวาททุกกฎ ย่อมมีแก่เธอนั้น
สมฺปชานมุสาวาโท โข ปนายสฺมนฺโต
ท่านทั้งหลายก็สัมปชานมุสาวาทแล
อนฺตรายิโก ธมฺโม วุตฺโต ภควตา;
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เป็นธรรมทําอันตราย
ตสฺมา สรมาเนน ภิกฺขุนา อาปนฺเนน
เพราะฉะนั้น เมื่อภิกษุต้องอาบัติแล้วระลึกได้
วิสุทฺธาเปกฺเขน
หวังความบริสุทธิ์
สนฺตี อาปตฺติ อาวิกาตพฺพา.
พึงเปิดเผยอาบัติซึ่งมีอยู่
อาวิกตา หิสฺส ผาสุ โหติ.
เพราะเปิดเผยอาบัติแล้วความสบายย่อมมีแก่เธอ
นิทานํ นิฏฺฐิตํ.
ข้อความเบื้องต้น จบ.