สวดพระปาฏิโมกข์
สตฺตาธิกรณสมถา
อิเ ม โ ข ป น า ย สฺม นฺโ ต สตฺตาธิกรณสมถา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. /
อุปฺปนฺนุปฺปนฺนานํ อธิกรณานํ สมถาย วูปสมาย / สมฺมุขาวินโย ทาตพฺโพ, สติวินโย ทาตพฺโพ, / อมูฬฺหวินโย ทาตพฺโพ, ปฏิญฺญาตกรณํ, / เยภุยฺยสิกา, ตสฺส ปาปิยสิกา, ติณวตฺถารโกติ. /
อุทฺทิฏฺฐา โข อายสฺมนฺโต สตฺตาธิกรณสมถา ธมฺมา. /
ตตฺถายสฺมนฺเต ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /
ทุติยมฺปิ ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /
ตติยมฺปิ ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /
ปริสุทฺเธตฺถายสฺมนฺโต; ตสฺมา ตุณฺหี, / เอวเมตํ ธารยามิ.
สตฺตาธิกรณสมถา นิฏฺฐิตา. /
อุทฺทิฏฺฐํ โข อายสฺมนฺโต นิทานํ. /
อุทฺทิฏฺฐา จตฺตาโร ปาราชิกา ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา เตรส สงฺฆาทิเสสา ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา เทฺว อนิยตา ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา ตึส นิสฺสคฺคิยา ปาจิตฺติยา ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา เทฺวนวุติ ปาจิตฺติยา ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา จตฺตาโร ปาฏิเทสนียา ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา เสขิยา ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา สตฺตาธิกรณสมถา ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐํ โข อายสฺมนฺโต นิทานํ. / อุทฺทิฏฺฐา จตฺตาโร ปาราชิกา ธมฺมา. / อุทฺทิฏฺฐา เตรส สงฺฆาทิเสสา
ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา เทฺว อนิยตา ธมฺมา. / อุทฺทิฏฺฐา ตึส นิสฺสคฺคิยา ปาจิตฺติยา ธมฺมา. / อุทฺทิฏฺฐา เทฺวนวุติ ปาจิตฺติยา
ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา จตฺตาโร ปาฏิเทสนียา ธมฺมา. / อุทฺทิฏฺฐา เสขิยา ธมฺมา. /
อุทฺทิฏฺฐา สตฺตาธิกรณสมถา ธมฺมา. /
คำแปล ความหมาย สตฺตาธิกรณสมถา
ท่านทั้งหลายธรรมชื่ออธิกรณสมถะ ๗ เหล่านี้แลย่อมมาสู่อุทเทส.
เพื่อความสงบ เพื่อความระงับ ซึ่งอธิกรณ์ทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นแล้ว ที่เกิดขึ้นแล้วพึงให้ระเบียบอันจะพึงทําให้ถึงพร้อมหน้าพึงให้ระเบียบยกเอาสติขึ้นเป็นหลัก พึงให้ระเบียบที่ให้แก่ภิกษุผู้หายเป็นบ้าแล้ว
( พึงให้ ) ทําตามรับ
( พึงให้ ) ตัดสินเอาตามคําของคนมากเป็นประมาณ
( พึงให้ ) กิริยาที่ลงโทษแก่ผู้ผิด
( พึงให้ ) ระเบียบดังกลบไว้ด้วยหญ้า.
ท่านทั้งหลายธรรมชื่ออธิกรณสมถะ ๗ อันข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้วแล ข้าพเจ้าถามท่านทั้งหลายในเรื่องนั้น
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ?
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่๒
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ?
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่๓
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ?
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วในเรื่องนั้น
เพราะฉะนั้น จึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.
อธิกรณสมถะ ๗ จบ.
ท่านทั้งหลายคํานิทาน ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้วแล
ธรรมทั้งหลายชื่อปาราชิก ๔ ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว
ธรรมทั้งหลายชื่อ สังฆาทิเสส ๑๓ ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว
ธรรมทั้งหลายชื่ออนิยต ๒ ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว
ธรรมทั้งหลาย ชื่อนิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว
ธรรมทั้งหลายชื่อปาจิตตีย์ ๙๒ ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว
ธรรมทั้งหลายชื่อปาฏิเทสนียะ ๔ ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว
ธรรมทั้งหลายชื่อเสขิยะ ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว
ธรรมทั้งหลายชื่ออธิกรณสมถะ ๗ ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว
คําเท่านี้ ของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น นับเนื่องในสูตรแล้ว มาในสูตรแล้วย่อมมาสู่อุทเทสทุกๆ กึ่งเดือน. อันภิกษุทั้งหลายทั้งปวงนั่นแล พึงเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน เป็นผู้ชื่นชมด้วยดีอยู่ เป็นผู้ไม่วิวาทอยู่ ศึกษาในพระปาฏิโมกข์นั้นดังนี้.
ภิกขุปาฏิโมกข์ จบ.
อ้างอิงบทสวดและคำแปลจาก
http://www.dmc.tv/forum/uploads/post-323-1156305445.ipb