สวดพระปาฏิโมกข์ เสขิยา

วันที่ 14 มค. พ.ศ.2559

สวดพระปาฏิโมกข์
เสขิยา

590114_03.jpg
 

 

      อิเม โข ปนายสฺมนฺโต เสขิยา ธมฺมา อุทฺเทสํ อาคจฺฉนฺติ. /
1. “ปริมณฺฑลํ นิวาเสสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
2. “ปริมณฺฑลํ ปารุปิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
3. “สุปฏิจฺฉนฺโน อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
4. “สุปฏิจฺฉนฺโน อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
5. “ สุสํวุโ ต อ นฺต ร ฆ เ ร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
6. “ สุสํวุโ ต อ นฺต ร ฆ เ ร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
7. “โอกฺขิตฺตจกฺขุ อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
8. “โอกฺขิตฺตจกฺขุ อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
9. “น อุกฺขิตฺตกาย อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
10. “น อุกฺขิตฺตกาย อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
11. “น อุชฺชคฺฆิกาย อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
12. “น อุชฺชคฺฆิกาย อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
13. “อปฺปสทฺโท อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
14. “อปฺปสทฺโท อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
15. “น กายปฺปจาลกํ อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
16. “น กายปฺปจาลกํ อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
17. “น พาหุปฺปจาลกํ อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
18. “น พาหุปฺปจาลกํ อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
19. “น สีสปฺปจาลกํ อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
20. “น สีสปฺปจาลกํ อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
21. “น ขมฺภกโต อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
22. “น ขมฺภกโต อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
23. “น โอคุณฺฐิโต อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
24. “น โอคุณฺฐิโต อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
25. “น อุกฺกุฏิกาย อนฺตรฆเร คมิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
26. “น ปลฺลตฺถิกาย อนฺตรฆเร นิสีทิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา.
       ฉพฺพีสติ สารุปฺปา. /

1. “ ส กฺก จฺจํ ปิณฺฑ ป า ตํ ปฏิคฺคเหสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
2. “ปตฺตสญฺญี ปิณฺฑปาตํ ปฏิคฺคเหสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
3. “ ส ม สูป กํ ปิณฺฑ ป า ตํ ปฏิคฺคเหสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
4. “สมติตฺติกํ ปิณฺฑปาตํ ปฏิคฺคเหสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
5. “ ส กฺก จฺจํ ปิณฺฑ ป า ตํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
6. “ปตฺตสญฺญี ปิณฺฑปาตํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
7. “ ส ป ท า นํ ปิณฺฑ ป า ตํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
8. “ ส ม สูป กํ ปิณฺฑ ป า ตํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
9. “น ถูปโต โอมทฺทิตฺวา ปิณฺฑปาตํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
10. “น สูปํ วา พฺยญฺชนํ วา โอทเนน ปฏิจฺฉาเทสฺสามิ / ภิยฺโยกมฺยตํ อุปาทายาติ สิกฺขา กรณียา. /
11. “น สูปํ วา โอทนํ วา อคิลาโน อตฺตโน / อตฺถาย วิญฺญาเปตฺวา ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
12. “น อุชฺฌานสญฺญี ปเรสํ ปตฺตํ โอโลเกสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
13. “นาติมหนฺตํ กวฬํ กริสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
14. “ปริมณฺฑลํ อาโลปํ กริสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
15. “น อนาหเฏ กวเฬ มุขทฺวารํ วิวริสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
16. “น ภุญฺชมาโน สพฺพํ หตฺถํ มุเข ปกฺขิปิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
17. “ น ส ก ว เ ฬ น มุเ ข น พฺยาหริสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
18. “น ปิณฺฑุกฺเขปกํ?ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
19. “น กวฬาวจฺเฉทกํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
20. “น อวคณฺฑการกํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
21. “น หตฺถนิทฺธูนกํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
22. “น สิตฺถาวการกํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
23. “น ชิวฺหานิจฺฉารกํ ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
24. “น จปุจปุการกํ?ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
25. “น สุรุสุรุการกํ?ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
26. “น หตฺถนิลฺเลหกํ?ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
27. “น ปตฺตนิลฺเลหกํ?ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
28. “น โอฏฺฐนิลฺเลหกํ?ภุญฺชิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
29. “น สามิเสน หตฺเถน ปานียถาลกํ ปฏิคฺคเหสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
30. “น สสิตฺถกํ ปตฺตโธวนํ อนฺตรฆเร ฉฑฺเฑสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา.
        สมตึส โภชนปฏิสํยุตฺตา. /

1. “น ฉตฺตปาณิสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
2. “น ทณฺฑปาณิสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
3. “น สตฺถปาณิสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
4. “น อาวุธปาณิสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
5. “น ปาทุการูฬฺหสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
6. “น อุปาหนารูฬฺหสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
7. “น ยานคตสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
8. “น สยนคตสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
9. “น ปลฺลตฺถิกาย นิสินฺนสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
10. “น เวฏฐฺ ติ สสี สสฺ อคลิ านสสฺ ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
11. “ น โ อ คุณฺฐิต สีส สฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
12. “น ฉมายํ นิสีทิตฺวา อาสเน นิสินฺนสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
13. “น นีเจ อาสเน นิสีทิตฺวา / อุจฺเจ อาสเน นิสินฺนสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
14. “ น ฐิโ ต นิสินฺน สฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
15. “น ปจฺฉโต คจฺฉนฺโต ปุรโต คจฺฉนฺตสฺส อคิลานสฺส ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
16. “น อุปฺปเถน คจฺฉนฺโต ปเถน คจฺฉนฺตสฺส อคิลานสฺส / ธมฺมํ เทสิสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา.

       โสฬส ธมฺมเทสนาปฏิสํยุตฺตา. /

1. “น ฐิโ ต อคิลาโน อุจฺจารํ วา ปสฺสาวํ วา กริสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
2. “น หริเต อคิลาโน อุจฺจารํ วา ปสฺสาวํ วา เขฬํ วา กริสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. /
3. “น อุทเก อคิลาโน อุจฺจารํ วา ปสฺสาวํ วา เขฬํ วา กริสฺสามีติ สิกฺขา กรณียา. 
     ตโย ปกิณฺณกา. /
     อุทฺทิฏฺฐา โข อายสฺมนฺโต เสขิยา ธมฺมา. /
     ตตฺถายสฺมนฺเต ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /
     ทุติยมฺปิ ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /
     ตติยมฺปิ ปุจฺฉามิ: กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ? /
     ปริสุทฺเธตฺถายสฺมนฺโต; ตสฺมา ตุณฺหี, / เอวเมตํ ธารยามิ.
     เสขิยา นิฏฺฐิตา. /

 

 

 

ท่านทั้งหลาย ธรรมชื่อเสขิยะเหล่านี้แล ย่อมมาสู่อุทเทส. 
1. พึงทําศึกษาว่า "เราจักนุ่ง- เป็นปริมณฑล."
2 . พึงทําศึกษาว่า "เราจักห่ม-เป็นปริมณฑล". 
3 . พึงทําศึกษาว่า "เราจักปกปิดกายดี ไปในละแวกบ้าน"
4 . พึงทําศึกษาว่า "เราจักปกปิดกายดี นั่งในละแวกบ้าน
5 . พึงทําศึกษาว่า "เราจักสํารวมดี ไปในละแวกบ้าน".
6. พึงทําศึกษาว่า "เราจักสํารวมดีนั่ง ในละแวกบ้าน." 
7. พึงทําศึกษาว่า "เราจักมีตาทอดลง ไปในละแวกบ้าน."
8. พึงทําศึกษาว่า "เราจักมีตาทอดลง นั่งในละแวกบ้าน." 
9. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ไปใน ละแวกบ้าน ด้วยทั้งเวิกผ้า."
10. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่นั่งใน ละแวกบ้าน ด้วยทั้งเวิกผ้า."
11. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ไปในละแวกบ้าน ด้วยทั้งความหัวเราะลั่น."
12. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่นั่งในละแวกบ้าน ด้วยทั้งความหัวเราะลั่น." 
13. พึงทําศึกษาว่า "เราจักมีเสียงน้อยไปในละแวกบ้าน."
14. พึงทําศึกษาว่า "เราจักมีเสียงน้อย นั่งในละแวกบ้าน." 
15. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่โยกกายไปในละแวกบ้าน."
16. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่โยกกายนั่งในละแวกบ้าน."
17. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ไกวแขนไปในละแวกบ้าน."
18. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ไกวแขนนั่งในละแวกบ้าน."
19. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่โคลงศีรษะไปในละแวกบ้าน."
20. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่โคลงศีรษะนั่งในละแวกบ้าน."
21. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ทําความค้ำไปในละแวกบ้าน."
22. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ทําความค้ำนั่งในละแวกบ้าน."
23. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่คลุม( ศีรษะ) ไปในละแวกบ้าน."
24. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่คลุม(ศีรษะ) นั่งในละแวกบ้าน." 
25. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ไปในในละแวกบ้าน ด้วยทั้งความกระโหย่ง ."
26. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่นั่งในในละแวกบ้าน ด้วยทั้งความรัดเข่า ."

สารูป 26 (จบ).


1. พึงทําศึกษาว่า "เราจักรับบิณฑบาตโดยเอื้อเฟื้อ
2. พึงทําศึกษา "เราจักจ้องดูอยู่ในบาตรรับบิณฑบาต."
3. พึงทําศึกษาว่า "เราจักรับบิณฑบาตมีสูปะเสมอกัน
4. พึงทําศึกษาว่า "เราจักรับบิณฑบาตเสมอขอบ 
5. พึงทําศึกษาว่า "เราจักฉันบิณฑบาตโดยเอื้อเฟื้อ."
6. พึงทําศึกษาว่า "เราจักจ้องดูอยู่ในบาตรฉันบิณฑบาต."
7. พึงทําศึกษาว่า "เราจักฉันบิณฑบาตไม่แหว่ง." 
8. พึงทําศึกษาว่า "เราจักฉันบิณฑบาตมีสูปะเสมอกัน."
9. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ขยุมลงแต่ยอดฉันบิณฑบาต."
10. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่กลบแกงก็ดี กับข้าวก็ดี ด้วยข้าวสุกอาศัยความอยากได้มาก."
11. พึงทําศึกษาว่า "เราไม่อาพาธจักไม่ขอสูปะก็ดี ข้าวสุกก็ดีเพื่อประโยชน์แก่ตนฉัน."
12. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่เพ่งโพนทะนาแลดูบาตรของผู้อื่น."
13. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ทําคําข้าวให้ใหญ่นัก."

14. พึงทําศึกษาว่า "เราจักทําคําข้าวให้กลมกล่อม."
15. พึงทําศึกษาว่า "เมื่อคําข้าวยังไม่นํามาถึง เราจักไม่อ้าช่องปาก."
16. พึงทําศึกษาว่า "เราฉันอยู่จักไม่สอดมือทั้งนั้นเข้าในปาก."
17. พึงทําศึกษาว่า "ปากยังมีคําข้าวเราจักไม่พูด."
18. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ฉันเดาะคําข้าว"  
19. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ฉันกัดคําข้าว"  
20. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ฉันทําให้ตุ่ย
21. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ฉันสลัดมือ." 
22. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ฉันทําเมล็ดข้าวตก."
23. พึงทําศึกษาว่า"เราจักไม่ฉันแลบลิ้น
24. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ฉันทําเสียงจับๆ 
25. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ฉันทําเสียงซูดๆ
26. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ฉันเลียมือ."
27. พึงทําศึกษาว่า"เราจักไม่ฉันขอดบาตร."
28. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่ฉันเลียริมฝีปาก." 
29. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่รับโอน้ำด้วยมือเปื้อนอามิส."
30. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่เทน้ําล้างบาตรมีเมล็ดข้าวในละแวกบ้าน."
โภชนปฏิสังยุตต์ 30 (จบ). 

 

1. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้มีร่มในมือ."
2. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้มีไม่พลองในมือ."
3. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้มีศัสตราในมือ."
4. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้มีอาวุธในมือ."
5. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้สวมเขียงเท้า."
6. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้สวมรองเท้า."
7. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ไปในยาน."
8. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้อยู่บนที่นอน."
9. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้นั่งรัดเข่า."
10. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้พันศีรษะ."
11. พึงทําศึกษาว่า "เราจักไม่แสดงธรรมแก่บุคคลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้คลุมศีรษะ."
12. พึงทําศึกษาว่า "เรานั่งอยู่ที่แผ่นดินจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้นั่งบนอาสนะ."
13. พึงทําศึกษาว่า "เรานั่งบนอาสนะต่ําจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ผู้นั่งบนอาสนะสูง." 
14. พึงทําศึกษาว่า "เรายืนอยู่จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้นั่งอยู่."
15. พึงทําศึกษาว่า "เราเดินไปข้างหลังจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้เดินไปข้างหน้า."
16. พึงทําศึกษาว่า "เราเดินไปนอกทางจักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ผู้ไปอยู่ในทาง."
ธัมมเทสนาปฏิสังยุตต์ 16 (จบ).

 

1. พึงทําศึกษาว่า "เราไม่อาพาธ จักไม่ยืนถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ."
2. พึงทําศึกษาว่า "เราไม่อาพาธ จักไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนเขฬะบนของสดเขียว." 
3. พึงทําศึกษาว่า "เราไม่อาพาธ จักไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนเขฬะในน้ํา
ปกิณณกะ 3 (จบ)

 

ท่านทั้งหลายธรรมทั้งหลายชื่อเสขิยะ ข้าพเจ้าแสดงขึ้นแล้ว  ข้าพเจ้าถามท่านทั้งหลายในเรื่องนั้น
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ? 
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่ 2 
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ? 
ข้าพเจ้าถามแม้ครั้งที่ 3
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วหรือ?
ท่านทั้งหลายเป็นผู้บริสุทธ์แล้วในเรื่องนั้น เพราะฉะนั้น จึงนิ่ง. ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้
เสขิยะ จบ. 

 


อ้างอิงบทสวดและคำแปลจาก 
http://www.dmc.tv/forum/uploads/post-323-1156305445.ipb

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.0080653508504232 Mins