รวมคำสวดอุปสมบท

วันที่ 04 พย. พ.ศ.2562

รวมคำสวดอุปสมบท

รวมคำสวดอุปสมบท

คำสวดให้ถืออุปัชฌายะ และบอกบาตรไตรจีวร
     "ปฐมํ อุปชฺณํ คาหาเปตพฺโพ, อุปชฺฌํ คาหาเปตฺวา ปตฺตจีวรํ อาจิกฺขิตพฺพํ"
     อยนฺเต ปตฺโต             (อาม ภนฺเต)
     อยํ สงฺฆาฏิ                (อาม ภนฺเต)
     อยํ อุตฺตราสงฺโค          (อาม ภนฺเต)
     อยํ อนฺตรวาสโก          (อาม ภนฺเต)
     "คจฺฉ อมุมฺหิ โอกาเส ติฏฺฐาหิ"


• คำสวดกรรมวาจา สมมติตนเป็นผู้สอนซ้อม
     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, นาโค อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺโข,ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ อหํ นาคํ อนุสาเสยฺยํ ฯ


• คำสวด สอนซ้อมอุปสัมปทาเปกขะ
     สุณสิ๊ นาค อยนฺเต สจฺจกาโล ภูตกาโล, ยํ ชาตํ ตํ สงฺฆมชฺเฌ ปุจฺฉนฺเต,
     สนฺตํ อตฺถีติ วตฺตพฺพํ, อสนฺตํ นตฺถีติ วตฺตพฺพํ, มา โข วิตฺถาสิ มา โข มงฺกุ อโหสิ, เอวนฺตํ ปุจฺฉิสฺสนฺติ, สนฺติ๊, เต เอวรูปา อาพาธา ?


     กุฏฺฐํ                                  (นตฺถิ ภนฺเต)
     คณฺโฑ ?                            (นตฺถิ ภนฺเต)
     กิลาโส ?                            (นตฺถิ ภนฺเต)
     โสโส ?                              (นตฺถิ ภนฺเต)
     อปมาโร ?                           (นตฺถิ ภนฺเต)
     มนุสฺโสสิ๊ ?                          (อาม ภนฺเต)
     ปุริโสสิ๊ ?                            (อาม ภนฺเต)
     ภุชิสฺโสสิ๊ ?                          (อาม ภนฺเต)
     อนโณสิ๊ ?                           (อาม ภนฺเต)
     นสิ๊ ราชภโฏ ?                      (อาม ภนฺเต)
     อนุญฺญาโตสิ๊ มาตาปิตูหิ ?       (อาม ภนฺเต)
     ปริปุณฺณวีสติวสฺโสสิ๊ ?            (อาม ภนฺเต)
     ปริปุณฺณนฺเต ปตฺตจีวรํ ?          (อาม ภนฺเต)
     กินฺนาโมสิ๊ ?                         (อหํ ภนฺเต นาโค นาม)
     โก นาม เต อุปชฺฌาโย ?         (อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต อายสฺมา ติสฺสตฺเถโร นาม)

• คำสวดเรียกนาคเข้ามา
     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ นาโค อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺโข, อนุสิฏฺโฐ โส มยา ยทิ สงฺฆสุส ปตฺตกลุลํ, นาโค อาคจฺเฉยฺย, (อาคจฺฉาหีติวตฺตพุโพ) อาคจฺฉาหิ ฯ

• คำขออุปสมบท
     สงฺฆมฺภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ, อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย ฯลฯ

     เมื่ออุปสัมปทาเปกขะ (สามเณร) เข้ามาในสังฆสันนิบาตขออุปสมบท (สงฺฆมฺภนฺเต) จบลงแล้ว พระอุปัชฌายะพึงกล่าวเผดียงสงฆ์ดังนี้ว่า

     อิทานิ โข ภนฺเต อยํ (นาโค) นาม สามเณโร มม อุปสมฺปทาเปกฺโข อุปสมฺปทํ อากงฺขมาโน สงฺฆํ ยาจติ, อหํ สพฺพมิมํ, สงฺฆํ อชฺเฌสามิ, สาธุ ภนฺเต สพฺโพยํ สงฺโฆ อิมํ (นาคํ) นาม สามเณรํ อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺฉิตฺวา ตตฺถ ปตฺตกลฺลตฺตํ ญตฺวา ญตฺติจตุตฺเถน กมฺเมน อกุปฺเปน ฐานารเหน อุปสมฺปาเทมาติ กมฺมสนฺนิฏฺฐานํ กโรตุ ฯ สงฆ์ประนมมือรับพร้อมกันว่า "สาธุ" ฯ

คำแปล 
     บัดนี้แลท่านผู้เจริญทั้งหลาย สามเณรชื่อ (นาค) นี้ เป็นอุปสัมปทาเปกขะของข้าพเจ้า หวังอุปสมบทต่อสงฆ์ ฯ ข้าพเจ้าขอเผดียงสงฆ์ทั้งปวงนี้ขอสงฆ์ทั้งปวงนี้ถามอันตรายิกธรรมต่อสามเณรชื่อ (นาคะ) ผู้นี้แล้ว รู้ความพรั่งพร้อมถึงที่ ในอุปสมบทกรรมนั้นแล้ว, จงทำความตกลงในกรรมว่าเราทั้งหลายอุปสมบทด้วยกรรม มีกรรมวาจาทั้งญัตติด้วยเป็นที่ ๔ อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ ฯ ถ้าไม่มีภิกษุแก่พรรษากว่าอยู่ในสังฆสันนิบาตจึงว่า "อาวุโส" แทน "ภนฺเต"

• คำสวดสมมติตน ถามอันตรายิกธรรม
     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อยํ นาโค อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺโข, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, อหํ นาคํ อนฺตรายิเก ธมฺเม ปุจฺเฉยฺยํ, สุณสิ๊ นาค อยนฺเต สจฺจกาโล, ภูตกาโล ยํ ชาตํ ตํ ปุจฺฉามิ, สนฺตํ อตฺถีติ วตฺตพฺพํ, อสนฺตํ นตฺถีติ วตฺตพฺพํ, เต เอวรูปา อาพาธา กุฏฺฐํ ฯลฯ

• คำสวดกรรมวาจาอุปสมบท :
     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อยํ นาโค, อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺโข, ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ, ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ, นาโค สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ, อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน, ยทิ สงฺฆสฺส. ปตฺตกลฺลํ สงฺโฆ นาคํ อุปสมฺปาเทยฺย, อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน, เอสา ญตฺติ ฯ

     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อยํ นาโค, อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺโข, ปริสุทฺโธ อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ, ปริปุณฺณสฺส ปตฺตจีวรํ, นาโค สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจติ, อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน, สงฺโฆ นาคํ อุปสมฺปาเทติ, อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน, ยสฺสายสฺมโต ขมติ นาคสฺส อุปสมฺปทา,อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน, โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ, โส ภาเสยฺย, ทุติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ ฯ

     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, ฯลฯ โส ภาเสยฺย ตติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ ฯ
     สุณาตุ เม ภนฺเต ฯลฯ โส ภาเสยฺย ๆ
     อุปสมฺปนฺโน สงฺเฆน, นาโค, อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน, ขมติ สงฺฆสฺส, ตสฺมา ตุณฺหี, เอวเมตํ, ธารยามิ ฯ
(ต้องการดูคำแปลพึงดูในเล่ม คู่มือบรรพชาอุปสมบท")

• ตัวอย่างคำสวดอุปสมบทคู่ 
     อุปสัมปทาเปกขะ ชื่อสุภัททะรูป ๑ ชื่อสุภระรูป อุปัชฌายะชื่อติสสะ)

 

• คำสวดสมมติและคำสอนซ้อม

     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, สุภทฺโท จ สุภโร จ อายสฺมโต ติสฺสสฺส
     อุปสมฺปทาเปกฺขา, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, อหํ สุภทฺทญฺจ สุภรญฺจ อนุสาเสยฺยํฯ

     สุณสิ๊ สุภทฺท อยนฺเต สจฺจกาโล ภูตกาโล ฯเปฯ โก นาม เต อุปชฺฌาโย ฯ สุณสิ๊ สุภร, อยนฺเต สจฺจกาโล ภูตกาโล ฯเปฯ โก นาม เต อุปชฺฌาโย ฯลฯ

 

• คำขอเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้ามา

     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, สุภทฺโท จ สุภโร จ อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺขา, อนุสิฏฺฐา เต มยา ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ สุภทฺโท จ สุภโร จ อาคจฺเฉยยํ ๆ
     คำเรียกว่า "อาคจฺฉถ"


• คำขออุปสมบทพร้อมกัน

     สงฺฆมฺภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจาม, อุลฺลุมฺปตุ โน ภนฺเต, สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย ฯ ทุติยมฺปิ ภนฺเต, สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจาม, อุลฺลุมฺปตุโน ภนฺเต, สงฺโฆ อนุกมฺปิ อุปาทาย ๆ ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจาม, อุลฺลุมฺปตุ โนภนฺเต, สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย ฯ

 

• คำสมมติ และคำถามอันตรายิกธรรม

     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อยญฺจ สุภทฺโท อยญฺจ สุภโร อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺขา, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, อหํ สุภทฺทญฺจ สุภรญฺจ อนุตรายิเก ธมฺเม ปุจฺเฉยฺยํ ฯ

(แล้วสอบถามทีละรูป)

 

• คำสวดอุปสมบท

     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อยญฺจ สุภทฺโท อยญฺจ สุภโร อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺขา, ปริสุทฺธา อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ, ปริปุณฺณมิเมสํ ปตฺตจีวรํ,สุภทฺโท จ สุภโร จ สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจนฺติ, อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน, ยทิ สงฺฆสฺส ปตฺตกลฺลํ, สงฺโฆ สุภทฺทญฺจ สุภรญฺจ อุปสมฺปาเทยฺย, อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน, เอสา ญตฺติ ฯ

     สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อยญฺจ สุภทฺโท อยญฺจ สุภโร อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺขา, ปริสุทฺธา อนฺตรายิเกหิ ธมฺเมหิ, ปริปุณฺณมิเมสํ ปตฺตจีวรํ,สุภทฺโท จ สุภโร จ สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจนฺติ, อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน สงฺโฆ สุภทฺทญฺจ สุภรญฺจ อุปสมฺปาเทติ, อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน,ยสฺสายสฺมโต ขมติ, สุภทฺทสฺส จ สุภรสฺส จ อุปสมฺปทา อายสฺมตา ติสฺเสน อุปชฺฌาเยน, โส ตุณฺหสฺส ยสฺส นกฺขมติ, โส ภาเสยฺย ฯ

     ทุติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ, สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อยญฺจ สุภทฺโท อยญฺจ สุภโร อายสฺมโต ติสฺสสฺส อุปสมฺปทาเปกฺขา ฯลฯ โส ภาเสยฺย ๆ

     ตติยมฺปิ เอตมตฺถํ วทามิ, สุณาตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ ฯลฯ โส ภาเสยฺย ฯ

     อุปสมฺปนฺนา สงฺเฆน สุภทฺโท จ สุภโร จ อายสฺมตา ติสุเสน อุปชุณาเยน, ขมติ สงฺฆสฺส, ตสฺมา ตุณฺหี, เอวเมตํ ธารยามิ ฯ

     คำแปลเหมือนกัน เป็นแต่ควบชื่ออุปสัมปทาเปกขะเข้ากัน เช่น อุทาหรณ์ “สุภัททะและสุภระเป็นอุปสัมปทาเปกขะของท่านติสสะ” ๆ

     ในที่ลง ฯลฯ ไว้ต้องสวดให้เต็มความ ฯ

     ถ้าอุปสมบทคราวเดียว ๓ รูป ก็พึงสวดโดยนัยนี้ เป็นแต่เติมเข้าไปอีกชื่อหนึ่ง แต่ท่านห้ามไม่ให้สวดคราว     เดียวกันเกินกว่า ๓ รูปเป็นอันขาด สวดเพียงคราวละคู่พอเหมาะ ๆ

จบวิธีอุปสมบทเท่านี้
 

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.035642035802205 Mins