บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคำแปล

วันที่ 30 ตค. พ.ศ.2560

บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคำแปล , บทสวดธัมมจักกัปปวัตนสูตร , Dhammacakkappavaddana Sutta , 转法轮经 , ธัมมจักฯ ,

 

วีดีโอ บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

 


บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
downlaod

โหลด Mp3 บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร  เวลา24:58 | ขนาด 22.9 MB |

บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

โหลด MP4 บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร  18:05  นาที

บทขัดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

อะนุตตะรัง อะภิสัมโพธิง
สัมพุชฌิตวา ตะถาคะโต
ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ
ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง
สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต
โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
ยัตถากขาตา อุโภ อันตา
ปะฎิปัตติ จะ มัชฌิมา
จะตูสวาริยะสัจเจสุ
วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง
เทสิตัง ธัมมะราเชนะ
สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง
นาเมนะ วิสสุตัง สุตตัง
ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง
เวยยากะระณะปาเฐนะ
สังคีตันตัมภะฌามะ เส ฯ

 

5.jpg


บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

      เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง  วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯ ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ เทวเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ  นะ เสวิตัพพา โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต โย จายัง  อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ

      มัชฌิมา ปะฏิปะทา  ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ

       กะตะมา จะ สา ภิกขะเว

      มัชฌิมา ปะฏิปะทา  ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ

      อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต  สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ

     อะยัง โข สา ภิกขะเว

      มัชฌิมา ปะฏิปะทา  ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ

     อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ฯ ชาติปิ  ทุกขะ ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง โสกะปะริเทวะ ทุกขะ โทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข  ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ

     อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว  ทุกขะสะมุมะโย อะริยะสัจจัง ฯ ยายัง ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภิ นันทินี ฯ เสยยะถีทัง ฯ  กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา ฯ

     อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง ฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ  อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ

      อิ ทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะ  สัจจัง ฯ

     อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมา  อาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสมาธิ ฯ (หยุด)

     อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ

     ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง  อุทะปาทิญานัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ

     ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญาอุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิฯ

    อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว  ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ  อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

    อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว  ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ฯ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก  อุทะปาทิ ฯ

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

    ตัง โข ปะนิทัง  ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ  ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

    อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ  เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ  อาโลโก อุทะปาทิฯ

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว  ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

    ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิวิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

     ยาวะกีวัญจะ

    เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ  เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ

     เนวะ ตาวาหัง

    ภิกขะเว  สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ

    ยะโต จะ โข

    เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ  เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ

     อะถาหัง

    ภิกขะเว  สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ

     ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ

     อิทะมะโว จะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ  อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิ ภัญญะมาเน อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง  อุทะปาทิ ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ฯ

    ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา  สัททะมะนุสสาเวสุง

    เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง  อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ ฯ (หยุด)

     ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา จาตุมมะหาราชิกา  เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ

     จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ

     ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ

     ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ตุสิตา  เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ

     ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ  

     นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ

    ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรัหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง 

    เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง  อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ ฯ (หยุด)

     อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ  พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิฯ อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ

     อะถะโข ภะคะวา  อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ ฯ

     อิติหิทัง อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญ เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ

117770658.jpg


สวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แบบสูตรท่องจำ

บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคำแปล , บทสวดธัมมจักกัปปวัตนสูตร , Dhammacakkappavaddana Sutta , 转法轮经 , ธัมมจักฯ ,

บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคำแปล , บทสวดธัมมจักกัปปวัตนสูตร , Dhammacakkappavaddana Sutta , 转法轮经 , ธัมมจักฯ ,

117770658.jpg
 

คำแปล บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร

บทขัดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคําแปล

อะนุตตะรัง อะภิสัมโพธิง สัมพุชฌิต๎วา ตะถาคะโต 
(พระตถาคตเจ้าได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว)

ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต โลเก อัปปะฏิวัตติยัง 
(ทรงประกาศธรรมที่ใครๆ ยังมิได้ให้เป็นไปในโลก ให้เป็นไปโดยชอบ ได้ทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตรอันยอดเยี่ยม)

ยัตถากขาตา อุโภ อันตา ปะฏิปัตติ จะ มัชฌิมา จะตูส๎วาริยะสัจเจสุ วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง
(คือทรงสอนให้หลีกเว้นทางสุดโต่ง 2 อย่าง มีการหมกมุ่นในกามคุณและทรมานตนด้วยวิธีการต่างๆ ทรงสอนธรรมอันเป็นทางสายกลางเป็นข้อปฏิบัติให้เกิดปัญญารู้แจ้งเห็นจริงในอริยสัจสี่ เพื่อให้บริสุทธิ์จากอาสวกิเลส)

เทสิตัง ธัมมะราเชนะ สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง นาเมนะ วิสสุตัง สุตตัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง เวยยากะระณะปาเฐนะ สังคีตันตัมภะณามะ เส ฯ
(เราทั้งหลายจงสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตรนั้นที่พระพุทธองค์ซึ่งเป็นธรรมราชา ได้ทรงแสดงแล้วมีชื่อปรากฏว่า ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นพระสูตรที่ประกาศการได้บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณซึ่งพระสังคีติกาจารย์ได้ร้อยกรองไว้โดยทําเป็นบทสวดตามหลักบาลีไวยากรณ์เทอญ ฯ)


 

บทสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พร้อมคําแปล

เอวัมเม สุตัง ฯ (ข้าพเจ้า (คือพระอานนท์เถระ) ได้ฟังมาแล้วอย่างนี้)

เอกัง สะมะยัง ภะคะวา (สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า)

พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯ 
(เสด็จประทับอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันใกล้เมืองพาราณสี)

ตัต๎ระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ
(ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเตือนพระปัญจวัคคีย์อย่างนี้ว่า)

เท๎วเม ภิกขะเว อันตา (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ที่สุด ๒ เหล่าอย่างนี้)

ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา (อันบรรพชิตไม่ควรเสพ)

โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค (คือการประกอบตนให้พัวพันด้วยกามในกามทั้งหลายนี้ใด)

หีโน (เป็นธรรมอันเลว) คัมโม (เป็นเหตุให้ตั้งบ้านเรือน) 

โปถุชชะนิโก (เป็นของคนผู้มีกิเลสหนา)

อะนะริโย (ไม่ใช่ของคนไปจากข้าศึกคือกิเลส)

อะนัตถะสัญหิโต (ไม่ประกอบไปด้วยประโยชน์)

โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค (คือประกอบความเหน็ดเหนื่อยด้วยตนเหล่านี้ใด)

ทุกโข (ให้เกิดทุกข์แก่ผู้ประกอบ)

อะนะริโย (ไม่ใช่ไปจากข้าศึกคือกิเลส)

อะนัตถะสัญหิโต (ไม่ประกอบไปด้วยประโยชน์อย่างหนึ่ง)

เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลายข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดสองอย่างนั่นนั้น)

ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา (อันตถาคตได้ตรัสรู้แล้วด้วยปัญญาอันยิ่ง)

จักขุกะระณี ญาณะกะระณี (กระทําดวงตา ทําญาณเครื่องรู้)

อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
(ย่อมเป็นไปเพื่อเข้าไปสงบระงับจากกิเลส เพื่อความรู้ยิ่งเพื่อความรู้ดีเพื่อความดับ)

กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อปฏิบัติอันเป็นกลางนั้นเป็นไฉน)

ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา  (ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง)

จักขุกะระณี ญาณะกะระณี (กระทําดวงตา ทําญาณเครื่องรู้)

อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
(ย่อมเป็นไปเพื่อเข้าไปสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดีเพื่อความดับ)

อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ (ทางมีองค์๘ เครื่องไปจากข้าศึก คือกิเลสนี้เอง)

เสยยะถีทัง (ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ)

สัมมาทิฏฐิ (ปัญญาอันเห็นชอบ)

สัมมาสังกัปโป (ความดําริชอบ)

สัมมาวาจา (วาจาชอบ)

สัมมากัมมันโต (การงานชอบ)

สัมมาอาชีโว (เลี้ยงชีวิตชอบ)

สัมมาวายาโม (ความเพียรชอบ)

สัมมาสะติ (การระลึกชอบ)

สัมมาสะมาธิ (ความตั้งจิตชอบ)

อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา  (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันนี้แลข้อปฏิบัติที่เป็นกลางนั้น)

ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา (ที่ตถาคตได้ตรัสรู้แล้ว ด้วยปัญญาอันยิ่ง)

จักขุกะระณี ญาณะกะระณี  (กระทําดวงตา คือ กระทําญาณเครื่องรู้)

อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ
(ย่อมเป็นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความรู้ดีเพื่อความดับ)

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แลเป็นตัวทุกข์อย่างแท้จริง คือ)

ชาติปิ ทุกขา (แม้ความเกิดก็เป็นทุกข์)

ชะราปิ ทุกขา (แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์)

มะระณัมปิ ทุกขัง (แม้ความตายก็เป็นทุกข์)

โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา
(แม้ความโศกความร่ำไรรําพัน ความไม่สบายใจความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์)

อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข (ความประสบพบกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจ ก็เป็นทุกข์)

ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข  (ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข์)

ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง (มีความปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สิ่งนั้น ก็เป็นทุกข์)

สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ (ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์)

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลายก็ข้อนี้แลเป็นเหตุให้ทุกข์อย่างแท้จริงคือ)

ยายัง ตัณหา (ความทะยานอยากนี้ใด)

โปโนพภะวิกา (ทําให้มีภพอีก)

นันทิราคะสะหะคะตา (เป็นไปกับความกําหนัด ด้วยอํานาจความเพลิดเพลิน)

ตัต๎ระ ตัต๎ราภินันทินี  (เพลินยิ่งในอารมณ์นั้น ๆ)

เสยยะถีทัง (ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ)

กามะตัณหา (ความทะยานอยากในอารมณ์ที่ใคร่)

ภะวะตัณหา (ความทะยานอยากในความมีความเป็น)

วิภะวะตัณหา (ความทะยานอยากในความไม่มี ไม่เป็น)

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อนี้แลเป็นความดับทุกข์)

โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ
(ความดับโดยสิ้นกําหนัดโดยไม่เหลือแห่งตัณหานั้นนั่นแหละใด)

จาโค (ความสละตัณหานั้น)

ปะฏินิสสัคโค (ความวางตัณหานั้น)

มุตติ (การปล่อยตัณหานั้น)

อะนาละโย (ความไม่พัวพันแห่งตัณหานั้น)

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินีปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็นี้แลเป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์อย่างแท้จริง คือ)

อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค (ทางมีองค์๘ เครื่องไปจากข้าศึก คือกิเลสนี้เอง)

เสยยะถีทัง (ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ)

สัมมาทิฏฐิ (ปัญญาอันเห็นชอบ)

สัมมาสังกัปโป (ความดําริชอบ)

สัมมาวาจา (วาจาชอบ )

สัมมากัมมันโต (การงานชอบ)

สัมมาอาชีโว (ความเลี้ยงชีวิตชอบ)

สัมมาวายาโม (ความเพียรชอบ)

สัมมาสะติ (ความระลึกชอบ)

สัมมาสะมาธิ (ความตั้งจิตชอบ)

อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ  ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ  วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่า นี่เป็นทุกข์อริยสัจ)

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่า ก็ทุกข์อริยสัจนี้นั้นแล ควรกําหนดรู้)

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่าก็ทุกข์อริยสัจนี้นั้นแล เราได้กําหนดรู้แล้ว)

อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่านี่ทุกข์สมุทัยอริยสัจ)

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่านี่ทุกข์สมุทัยอริยสัจนี้นั้นแล ควรละเสีย)

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติเม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่านี่ทุกข์สมุทัยอริยสัจนี้นั้นแล เราละได้แล้ว)

อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่า นี่ทุกขนิโรจอริยสัจ)

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่านี่ทุกขนิโรจอริยสัจนี้นั้นแล ควรทําให้แจ้ง)

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ววิชชาได้เกิดขึ้นแล้วแสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่านี่ทุกขนิโรจอริยสัจนี้นั้นแล อันเราได้ทําให้แจ้งแล้ว)

อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่านี่ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ)

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่า ก็ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแลควรให้เจริญ)

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักขุได้เกิดขึ้นแล้ว ญาณได้เกิดขึ้นแล้วปัญญาได้เกิดขึ้นแล้ว วิชชาได้เกิดขึ้นแล้ว แสงสว่างได้เกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมทั้งหลายที่เราไม่ได้เคยฟังแล้วในกาลก่อนว่า ก็ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจนี้นั้นแล อันเราเจริญแล้ว)

ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุเอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปัญญาอันรู้ตามความเป็นจริงอย่างไรในอริยสัจ ๔ เหล่านี้ของเรา ซึ่งมีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ อย่างนี้ยังไม่หมดจดเพียงใดแล้ว)

เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจะยืนยันตนว่า เป็นผู้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะปัญญาเครื่องตรัสรู้ชอบ ไม่มีความตรัสรู้อื่นจะยิ่งกว่าในโลก เป็นไปพร้อมด้วยกับเทวดา มาร พรหม ในหมู่สัตว์ทั้งในสมณพราหมณ์เทวดา มนุษย์ไม่ได้เพียงนั้น)

ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุเอวันติปะริวัฏฏัง ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล ปัญญาอันเห็นตามเป็นจริงอย่างไรในอริยสัจ ๔ เหล่านี้ของเรามีรอบ ๓ มีอาการ๑๒ อย่างนี้หมดจดดีแล้ว)

อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ
(ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อนั้น เราจึงได้ยืนยันตนว่า เป็นผู้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะซึ่งปัญญาเครื่องตรัสรู้ชอบ ไม่มีความตรัสรู้อื่นจะยิ่งกว่าในโลก เป็นไปกับด้วยกับเทวดา มาร พรหม ในหมู่สัตว์ทั้งในสมณพราหมณ์เทพยดา มนุษย์)

ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ (ก็แลปัญญาอันรู้เห็นได้เกิดขึ้นแก่เราแล้ว)

อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ
(ว่าการพ้นพิเศษของเราไม่กลับกําเริบ ชาตินี้เป็นที่สุดแล้ว บัดนี้ไม่มีความเกิดอีก)

อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ (พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสธรรมปริยายนี้แล้ว)

อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตังอะภินันทุง ฯ
(พระภิกษุปัญจวัคคีย์ก็มีใจยินดีเพลิดเพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า)

อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มิง ภัญญะมาเน (ก็แลเมื่อไวยากรณ์นี้อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอยู่)

อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ
(จักษุในธรรมอันปราศจากธุลีปราศจากมลทิน ได้เกิดขึ้นแล้วแก่พระผู้มีอายุโกณฑัญญะ)

“ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ฯ”
(ว่า“สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดาแล้วสิ่งนั้นทั้งปวงก็ต้องดับสลายไปเป็นธรรมดา”)

ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก (ก็เมื่อธรรมจักรอันพระผู้มีพระภาคเจ้าให้เป็นไปแล้ว)

ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง (เหล่าภูมิเทวดาก็ส่งเสียงให้บันลือลั่นขึ้น)

เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎รัห๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ ฯ
(ว่านั่นจักรคือธรรมไม่มีจักรอื่นสู้ได้อันพระผู้มีพระภาคเจ้าให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสีอันสมณพราหมณ์เทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลกยังให้เป็นไปไม่ได้ดังนี้)

ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
(เทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราชได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าภูมิเทวดาแล้ว ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น)

จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ตาวะติงสาเทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
(เทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์ได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นจาตุมหาราชแล้ว ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น)

ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
(เทพเจ้าเหล่าชั้นยามาได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดาวดึงส์แล้ว ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น)

ยามานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
(เทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นยามาแล้วก็ยังเสียงให้บันลือลั่น)

ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา นิมมานะระตี เทวาสัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
(เทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดีได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นดุสิตแล้ว ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น)

นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ
(เทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตดีได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นนิมมานรดีแล้ว ก็ยังเสียงให้บันลือลั่น)

ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา พ๎รัห๎มะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง
(พรหมเจ้าที่เกิดในชั้นพรหมได้ฟังเสียงของเทพเจ้าเหล่าชั้นปรนิมมิตวสวัตดีแล้ว ก็ยังเสียงให้บันลือลั่นขึ้น)

“เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเยอะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎รัห๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ ฯ”
(ว่า “นั่นจักรคือธรรม ไม่มีจักรอื่นสู้ได้อันพระผู้มีพระภาคเจ้าให้เป็นไปแล้ว ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสีอันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม และใคร ๆ ในโลกไม่สามารถให้เป็นไปได้ดังนี้ฯ”)

อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พ๎รัห๎มะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ ฯ
(โดยขณะหนึ่งครู่หนึ่งนั้น เสียงขึ้นไปถึงพรหมโลกด้วยประการฉะนี้ฯ)

อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิสัมปะเวธิ ฯ
(ทั้งหมื่นโลกธาตุได้หวั่นไหวสะเทือนสะท้านลั่นไป)

อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ 
(ทั้งแสงสว่างอันใหญ่ยิ่งไม่มีประมาณ ได้ปรากฏแล้วในโลก)

อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ (ล่วงเทวานุภาพของเทวดาทั้งหลายเสียหมด ฯ)

อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ (ในลําดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงเปล่งอุทานขึ้นว่า)

อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภโกณฑัญโญติ
(โกณฑัญญะผู้เจริญได้รู้แล้วหนอ โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอผู้เจริญ)

อิติหิทัง อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ “อัญญาโกณฑัญโญ”เต๎ววะ นามัง อะโหสีติ ฯ
(เพราะเหตุนั้น นามว่า “อัญญาโกณฑัญญะ” นี้นั่นเทียวได้มีแล้วแก่พระโกณฑัญญะผู้มีอายุด้วยประการฉะนี้แล ฯ)

 


** อ้างอิงจากหนังสือ สวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร **
สร้างบุญให้ชีวิต น้อมอุทิศให้บรรพบุรุษ

 

 

ธรรมจักรซีรี่ส์ Part ที่ 1 - 12 ( แปลตั้งแต่แรกจนจบ )

ธรรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 1 ( เอวัมเม สุตัง ) ตอนที่ 1

ธรรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 2 ( ทะเวเม ภิกขะเว อันตา ) ตอนที่ 2

ธรรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 3 ( เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันตา ) ตอนที่ 3

ธรรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 4 ( กะตะมา จะ สา ภิกขะเว ) ตอนที่ 4

ธรรมจักรฯซี่รี่ส์ Partที่ 5 ( อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ) ตอนที่ 5

ธรรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 6 ( อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย ) ตอนที่ 6

ธรรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 8 ( ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย ) ตอนที่ 8

รรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 9 ( ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว ) ตอนที่ 9

ธรรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 10 ( ญานัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง ) ตอนที่ 10

ธรรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 11 ( ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ) ตอนที่ 11

ธรรมจักรฯ ซีรี่ส์ Partที่ 12 ตอนสุดท้าย ( อิติหะ เตนะ ขเณะ ) ตอนที่ 12 ( ตอนสุดท้าย )

 

ช่องทางรับฟัง เสียงสวดมนต์ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ฉบับ วัดพระธรรมกาย

JOOX https://joox.page.link/X9PKb9

Spotify https://spoti.fi/38JZPlc

Vimeo https://vimeo.com/379638944

TikTok https://bit.ly/2rNCheo

Weibo https://bit.ly/2ss7IuJ

Apple podcast https://apple.co/2YMSJHW

Google podcast https://bit.ly/38Jf25J

SoundCloud https://bit.ly/38LbIr4

Radio public https://bit.ly/2LWntRy

Breaker https://bit.ly/34mm6SG

Pocket Casts https://bit.ly/2suaeAN

 

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.051844382286072 Mins