ประมาณ 300 ปีหลังพุทธปรินิพพาน มีสามเณรน้อยรูปหนึ่งนามว่า สามเณรนิโครธ อายุเพียง 7 ขวบ ได้ออกบวชเเละบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์
...อ่านต่อ
สามเณรราหุล เป็นโอรส (ลูกชาย) ของพระนางยโสธรากับเจ้าชายสิทธัตถะก่อนที่พระองค์จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ออกบวชเมื่อ อายุ 7 ขวบ
...อ่านต่อ
กุมารกัสสปะ เป็นชื่อที่พระเจ้าปเสนทิโกศลที่ทรงรับอุปการะเลี้ยงดูต้้งให้เพราะมารดาของท่านได้มีศรัทธาออกบวชหลังจากเเต่งงานเเล้ว  เเละไม่รู้ตัวว่าตั้งครรภ์(ท้อง)
...อ่านต่อ
ผู้ได้รับการยกย่องทางจัดเสนาสนะ
...อ่านต่อ
ผู้มีส่วนริเริ่มสังคายนา จุนทะสามเณรเป็นน้องชาย 1 ใน 7 ของพระสารีบุตร  ผู้เป็นอัครสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 
...อ่านต่อ
สังกิจจสามเณร บวชในสำนักของพระสารีบุตรเถระ  ท่านบรรลุเป็นพระอรหันต์ด้วยวัย 7 ขวบ ในขณะปลงผมบวช 
...อ่านต่อ
สามเณรสานุ เเม้จะยังเยาว์ก็สามารถเเสดงธรรมเทศนาได้เเกล้วกล้า เเละไพเราะเกินตัว เทศนาทุกครั้งจะมีเทวดา ยักษ์ เเละอมนุษย์มาฟังด้วยเสมอ 
...อ่านต่อ
ชื่อติสสะ นั้น พระสารีบุตรเป็นผู้ตั้งให้ ตามนามเดิมของท่าน คือ อุปติสสะ  เมื่อครบ 7 ขวบ ขอมารดาออกบวช พระสารีบุตรให้โอวาทว่า
...อ่านต่อ
ยุคสมัยหนึ่ง มีเหตุการณ์ที่โลกมนุษย์เคยถูกทำลายด้วย ด้วยบางสิ่งที่มีอานุภาพร้ายเเรงอันตรายชนิดนี้ได้บังเกิดขึ้นมา
...อ่านต่อ
เรวตสามเณร เป็นน้องชายของพระสารีบุตรผู้เป็นพระอัครสาวกเบื้องขวาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
...อ่านต่อ
สามเณรน้อยชื่อ โสปาะ เเปลว่า "ผู้เกิดในป่าช้า" เพราะท่านเกิดในป่าช้า
...อ่านต่อ
สามเณรสีวลีเจริญด้วยลาภสักการะ เพราะในอดีตชาติได้ถวายน้ำผึ้งสดเเด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า พระวิปัสสีเเละหมู่สงฆ์ด้วยผลบุญที่ได้ถวายทานเเก่บุคคลผู้มีจิตบริสุทธิ์
...อ่านต่อ
  นาม สุขะ นี้   พระสารีบุตรเป็นผู้ตั้ง ให้ในวันเเรกคลอด ด้วยมารดากล่าวว่า ตั้งเเต่ตั้งครรภ์มา ขึ้นชื่อว่าทุกข์ไม่มีเเก่ใครในเรือนนี้
...อ่านต่อ
บัณฑิตสามเณรบวชตอนอายุได้ 7 ขวบ สามารถสำเร็จอรหันต์ ในวันที่ 8 ของการบวช มารดาตั้งชื่อว่า บัณฑิต  เหตุเพราะเมื่อสารเณรได้มาปฎิสนธิในครรภ์มารดาก็ปรากฎว่าคนในบ้านเรือนมีเเต่ความฉลาดปราดเปรื่อง
...อ่านต่อ
สุมนสามเณร บวชเป็นสามเณรเพื่อคอยอุปัฎฐากพระอนุรุทธเถระ สาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เลิศทางด้านทิพยจักษุญาณ(ตาทิพย์)
...อ่านต่อ
เอตทัคคะในทาง “ผู้มีฤทธิ์มาก” พระมหาโมคคัลลานะ มีชื่อเดิมว่า “โกลิตะ” เป็นบุตรพราหมณ์ท้ายบ้านผู้หนึ่ง
...อ่านต่อ
เอตทัคคะในทาง “ผู้มีบริวารมาก”
...อ่านต่อ
พระวังคีสเถระ เอตทัคคะในทาง “ผู้มีปฏิภาณ” (ในการกล่าวเป็นคำประพันธ์: ฉันท์)
...อ่านต่อ
พระปิณโฑลภารทวาชเถระ  เอตทัคคะในทาง “ผู้บันลือสีหนาท”
...อ่านต่อ
พระพาหิยเถระ  เอตทัคคะในทาง “ขิปปาภิญญา คือ ตรัสรู้เร็วพลัน”
...อ่านต่อ
พระมหากัปปินเถระ เอตทัคคะในทาง “ผู้ให้โอวาทภิกษุ”
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล