หัวใจของผู้เข้าถึงธรรม

วันที่ 01 มิย. พ.ศ.2560

หัวใจของผู้เข้าถึงธรรม,วาไรตี้,บทความประจำวัน

 

หัวใจของผู้เข้าถึงธรรม

     ตรงศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ นี้สำคัญมาก เป็นที่เกิด ที่ดับ ที่หลับ ที่ตื่น และก็เป็นทางไปสู่อายตนนิพพานด้วย รายละเอียดไม่ต้องพูดถึง เอาแค่ว่าตรงนี้เป็นจุดเริ่มต้นที่จะไปสู่อายตนนิพพาน เป็นจุดเริ่มต้นที่ถูกต้องจะอยู่ตรงกลางกายฐานที่ ๗

     เมื่อใจหยุดถูกส่วนเข้าจะเห็นดวงธรรมบังเกิดขึ้นตรงกลางกายฐานที่ ๗ ท่านเรียกว่าปฐมมรรค เป็นจุดเริ่มต้นของมรรคผลนิพพานหรือหนทางแห่งพระอริยเจ้าที่จะเสด็จไปลู่อายตนนิพพาน โดยมีจุดเริ่มต้นเป็นดวงใสๆ อยู่ที่ตรงนี้ และก็มีเส้นทางเอกสายเดียวที่บริสุทธิ์เส้นเดียวเกิดขึ้นในกลางนี้ปลายทางก็เป็นอายตนนิพพาน เป็นที่อยู่ของผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแลัว ผู้พ้นจากกิเลสอาสวะแล้ว พญามารบังคับบัญชาไม่ได้ หลุดพ้นแล้ว ปลายทางมีแต่ความสุขล้วนๆที่เรียกว่า เอก้นตบรมสุข สุขล้วนๆ บางครั้งท่านก็ใช้คำว่า "นิพฺพานํปรมํ สุขํ นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง" สุขเมื่อใจหยุด คือ เกิดความสบายกาย สบายใจ ปลอดโปร่งโล่งใจทีเดียว ท่านใช้คำว่า "นตฺถิ สนฺติปริ สุขํ สุขอื่น นอกจากหยุดนิ่งไม่มี" คือพอใจหยุดแล้วมันก็โล่ง โปร่ง เบา สบาย ใจขยายกว้างขวางเป็นอิสระ ไม่คับแคบ ไม่อึดคัด ไม่ซึม ไม่เซ็ง ไม่เครียด ไม่เบื่อ ไม่กลุ้มไม่โศกเศร้าเสียใจ ไม่คับแค้นใจ ไม่ร่ำพิไรรำพัน ไม่อาลัยอาวรณ์อะไรเลย

     เมื่อใจหยุดนิ่งที่ตรงนี้ ความรู้สึกชนิดนี้จึงจะเกิดขึ้น เขาเรียกว่าความสุข เป็นสุขเบื้องต้น แต่ถ้าสุขอย่างเดียวยิ่งกว่านี้ เขาเรียกว่าเอก้นตบรมสุข สุขอย่างเดียว เขาใช้คำว่าบรมสุข คือสุดยอดแห่งความสุข สุขอันยิงใหญ่ทีเดียวอยู่ปลายทาง เพราะฉะนั้นเส้นทางสายกลางภายในที่เริ่มต้นจากดวงใสๆหรือเรียกว่า เส้นทางแห่งพระอริยเจ้า มีความสุขตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งปลายทาง ไม่มีเส้นทางไหนในโลกนี้หรือโลกอื่นจะมีความสุขตั้งแต่เริ่มเดินทาง และก็เพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึงปลายทาง

      จะไปเที่ยวต่างประเทศ จ้ดทัวร์ไปเที่ยวไหนก็แล้วแต่ เริ่มต้นก็เหนื่อยเดินทาง นั่งก็เมื่อย ไปถึงปลายทางก็เพลีย กลับมาก็ลืมหมด หรือจะเดินทางจากโลกนี้ไปสู่ดวงจ้นทร์ ดวงดาวต่าง ๆ เริ่มต้นก็หวาดเสียวกลัวตาย ไปถึงปลายทางก็ไม่มีอะไร กิเลสก็ย้งมีเท่าเดิม ความทุกข์ทรมานก็ยังมีเท่าเดิม โลภะ โทสะ โมหะ ยังเท่าเดิมหมด กลับมาก็เท่าเดิม

      เพราะฉะนั้น เส้นทางนี้ทางเอกสายเดียวที่มีความสุข ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งถึงปลายทาง เป็นเส้นทางที่จำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคน และสรรพสัตว์ทั้งหลายด้วย เพราะว่าถ้าไม่ถึงเส้นทางนี้ก็เข้าไม่ถูกช่องทาง จะไม่รู้จ้กความสุขเลย มีแต่สุกเกรียมก้บสุกไหมั สุขที่มีความหายนะครอบงำ จะสุขในขวดหรือสุขที่ไหนก็ดี นั้นแหละมีความหายนะครอบงำ แต่นี่เป็นสุขจริงๆ เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับตัวมนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งหลาย

      ถ้ายังเข้าไม่ถึงสุขตรงนี้ ถึงต้นทางตรงนี้ ชีวิตก็ยังไม่ปลอดภ้ย ยังต้องเดินทางไกลแสวงหาหนทางที่จะเข้าถึงจุดนี้อีก แต่แสวงหาไปถ้าไม่เจอผู้รู้แนะนำ หรือผู้รู้มาบังเกิดขึ้นแล้วไม่แนะนา เราก็ไม่มีวันที่จะเจอ นานๆ จะมีผู้มีบุญสัก ท่านเจอด้วยตัวเอง อย่างพระปัจเจกพุทธเจ้า ท่านพบด้วยตัวท่านเอง แต่ท่านก็ผ่านผู้รู้มาหลายท่าน จะให้รู้เองโดยที่ไม่ได้ผ่านผู้รู้เลยยังไม่มี

       เพราะฉะนั้น ถ้าเราไม่รู้ การดำเนินชีวิตก็ผิดพลาด เป้าหมายของชีวิตก็เบี่ยงเบน เราเกิดมาเจออะไรเราก็ทำกันไปอย่างนั้น มีความทุกข์ทรมานเหมือนกับบรรพบุรุษของเรา ถ้าหากว่าเราเผลอประมาทและไม่ได้เจอกับกัลยาณมิตร ก็จะไปทำสิ่งที่เป็นบาปเป็นอกุศล ก็จะมีวิบากอกุศลกรรม คือความทุกข์ทรมานติดตามเราไปอีก ชีวิตก็จะตกต่ำกันเรื่อยไป ดังนั้นมีหนทางเดียวเท่านั้นคือเราจะตัองทำพระนิพพานให้แจ้ง พระนิพพานนั่นแหละ อยู่ในตัวเรา ไม่ได้อยู่ที่ไหน ไม่ได้อยู่ที่ต้นไม้ ไม่ได้อยู่ที่ภูเขา ไม่ได้อยู่ที่คนสัตว์สิ่งของ แต่อยู่ที่ในตัวของเรา ถ้าอยู่ในตัวของคนอื่นก็เป็นของเขา ซึ่งไม่เกี่ยวกับเรา ไม่ช่วยให้เราได้พ้นทุกข์

        นิพพานอยู่ในตัวของเรา จะเข้าถึงได้เมื่อใจหยุดนิ่ง กิจนี้จึงเป็นกรณียกิจเป็นสิ่งที่ควรทำ ส่วนการทำมาหากินเพื่อเลี้ยงชีพ ก็เป็นเรื่องที่จะต้องทำควบคู่กันไป เราจะต้องอาศ้ยปัจจัย ๔ มาเลี้ยงชีวิตเรา เพื่อเอากำล้งหรือเอาความแข็งแรง ความสืบต่อของการมีชีวิตนี้ มาแสวงหามาทำพระนิพพานให้แจ้ง มาทำหยุด มาทำนิ่ง จนกระทั่งเข้าถึงแผนผังของชีวิตภายใน คือเห็นดวงธรรมเบื้องต้น ได้แก่ดวงใสๆ ที่เรียกว่าปฐมมรรค และก็จะเห็นเป็นชุดๆไป เห็นศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณบัสสนะ ซึ่งมีอยู่แล้วภายในตัวของเราแล้วก็จะเห็นกายในกาย ตามเห็นกันไปเรื่อยๆ ตั้งแต่เห็นกายมนุษย์ละเอียดที่หน้าตาเหมือนตัวเราที่เป็นเจ้าของ ท่านหญิงเหมือนท่านหญิง ท่านชายเหมือนท่านชาย พอเข้ากลางต่อไปก็เข้าถึงดวงธรรมอีกชุดหนึ่ง พอสุดดวงสุดท้ายก็เข้าถึงกายทิพย์และก็ดำเนินจิตอย่างนี้เรื่อยๆ กระทั่งเข้าถึงกายรูปพรหม อรูปพรหมกายธรรมโคตรภู กายธรรมพระโสดาบัน กายธรรมพระสกิทาคามี กายธรรมพระอนาคามี และกายธรรมพระอรหัต ซ้อนๆ กันอยู่ภายใน มีทั้งหยาบ มีทั้งละเอียด ๑๘ กาย เป็นแผนผังของชีวิต

หัวใจของผ้เข้าถึงธรรม

     ตรงศูนย์กลางกายฐานที่ ๗ นี้สำ คัญมาก เป็นที่เกิด ที่ดับ ที่หลับ ที่ตื่น และก็เป็นทางไปสู่อายตนนิพพานด้วย รายละเอียดไม่ต้องพูดถึง เอาแค่ว่าตรงนี้เป็นจุดเริ่มต้นที่จะไปสู่อายตนนิพพาน เป็นจุดเริ่มต้นที่ถูกต้องจะอยู่ตรงกลางกายฐานที่ ๗

     เมื่อใจหยุดถูกส่วนเข้าจะเห็นดวงธรรมบังเกิดขึ้นตรงกลางกายฐานที่ ๗ ท่านเรียกว่าปฐมมรรค เป็นจุดเริ่มต้นของมรรคผลนิพพานหรือหนทางแห่งพระอริยเจ้าที่จะเสด็จไปลู่อายตนนิพพาน โดยมีจุดเริ่มต้นเป็นดวงใสๆ อยู่ที่ตรงนี้ และก็มีเส้นทางเอกสายเดียวที่บริสุทธิ์เส้นเดียวเกิดขึ้นในกลางนี้ปลายทางก็เป็นอายตนนิพพาน เป็นที่อยู่ของผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแลัว ผู้พ้นจากกิเลสอาสวะแล้ว พญามารบังคับบัญชาไม่ไคั หลุดพ้นแล้ว ปลายทางมีแต่ความสุขล้วนๆ
ที่เรียกว่า เอก้นตบรมสุข สุขล้วนๆ บางครั้งท่านก็ใช้คำว่า "นิพฺพานํปรมํ สุขํ นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง" สุขเมื่อใจหยุด คือ เกิดความสบายกาย สบายใจ ปลอดโปร่งโล่งใจทีเดียว ท่านใช้คำว่า "นตฺถิ สนฺติปริ สุขํ สุขอื่น นอกจากหยุดนิ่งไม่มี" คือพอใจหยุดแล้วมันก็โล่ง โปร่ง เบา สบาย ใจขยายกว้างขวางเป็นอิสระ ไม่คับแคบ ไม่อึดคัด ไม่ซึม ไม่เซ็ง ไม่เครียด ไม่เบื่อ ไม่กลุ้มไม่โศกเศร้าเสียใจ ไม่คับแค้นใจ ไม่ร่ำพิไรรำพัน ไม่อาลัยอาวรณ์อะไรเลย

     เมื่อใจหยุดนิ่งที่ตรงนี้ ความรู้สึกชนิดนี้จึงจะเกิดขึ้น เขาเรียกว่าความสุข เป็นสุขเบื้องต้น แต่ถ้าสุขอย่างเดียวยิ่งกว่านี้ เขาเรียกว่าเอก้นตบรมสุข สุขอย่างเดียว เขาใช้คำว่าบรมสุข คือสุดยอดแห่งความสุข สุขอันยิงใหญ่ทีเดียวอยู่ปลายทาง เพราะฉะนั้นเส้นทางสายกลางภายในที่เริ่มต้นจากดวงใสๆหรือเรียกว่า เส้นทางแห่งพระอริยเจ้า มีความสุขตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งปลายทาง ไม่มีเส้นทางไหนในโลกนี้หรือโลกอื่นจะมีความสุขตั้งแต่เริ่มเดินทาง และก็เพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆ จนถึงปลายทาง

      จะไปเที่ยวต่างประเทศ จ้ดทัวร์ไปเที่ยวไหนก็แล้วแต่ เริ่มต้นก็เหนื่อยเดินทาง นั่งก็เมื่อย ไปถึงปลายทางก็เพลีย กลับมาก็ลืมหมด หรือจะเดินทางจากโลกนี้ไปสู่ดวงจ้นทร์ ดวงดาวต่าง ๆ เริ่มต้นก็หวาดเสียวกลัวตาย ไปถึงปลายทางก็ไม่มีอะไร กิเลสก็ย้งมีเท่าเดิม ความทุกข์ทรมานก็ยังมีเท่าเดิม โลภะ โทสะ โมหะ ยังเท่าเดิมหมด กลับมาก็เท่าเดิม

      เพราะฉะนั้น เส้นทางนี้ทางเอกสายเดียวที่มีความสุข ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งถึงปลายทาง เป็นเส้นทางที่จำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคน และสรรพสัตว์ทั้งหลายด้วย เพราะว่าถ้าไม่ถึงเส้นทางนี้ก็เข้าไม่ถูกช่องทาง จะไม่รู้จ้กความสุขเลย มีแต่สุกเกรียมก้บสุกไหมั สุขที่มีความหายนะครอบงำ จะสุขในขวดหรือสุขที่ไหนก็ดี นั้นแหละมีความหายนะครอบงำ แต่นี่เป็นสุขจริงๆ เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับตัวมนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งหลาย

      ถ้ายังเข้าไม่ถึงสุขดรงนี้ ถึงต้นทางตรงนี้ ชีวิตก็ยังไม่ปลอดภ้ย ยังต้องเดินทางไกลแสวงหาหนทางที่จะเข้าถึงจุดนี้อีก แต่แสวงหาไปถ้าไม่เจอผู้รู้แนะนำ หรือผู้รู้มาบังเกิดขึ้นแล้วไม่แนะนา เราก็ไม่มีวันที่จะเจอ นานๆ จะมีผู้มีบุญสัก ท่านเจอด้วยตัวเอง อย่างพระปัจเจกพุทธเจ้า ท่านพบด้วยตัวท่านเอง แต่ท่านก็ผ่านผู้รู่้มาหลายท่าน จะให้รู้เองโดยที่ไม่ได้ผ่านผู้รู้เลยยังไม่มี

       เพราะฉะนั้น ถ้าเราไม่รู้ การดำเนินชีวิตก็ผิดพลาด เป้าหมายของชีวิตก็เบี่ยงเบน เราเกิดมาเจออะไรเราก็ทำกันไปอย่างนั้น มีความทุกข์ทรมานเหมือนกับบรรพบุรุษของเรา ถ้าหากว่าเราเผลอประมาทและไม่ได้เจอกับกัลยาณมิตร ก็จะไปทำสิ่งที่เป็นบาปเป็นอกุศล ก็จะมีวิบากอกุศลกรรม คือความทุกข์ทรมานติดตามเราไปอีก ชีวิตก็จะตกต่ำกันเรื่อยไป ดังนั้นมีหนทางเดียวเท่านั้นคือเราจะตัองทำพระนิพพานให้แจ้ง พระนิพพานนั่นแหละ อยู่ในตัวเรา ไม่ได้อยู่ที่ไหน ไม่ได้อยู่ที่ต้นไม้ ไม่ได้อยู่ที่ภูเขา ไม่ได้อยู่ที่คนสัตว์สิ่งของ แต่อยู่ที่ในตัวของเรา ถ้าอยู่ในตัวของคนอื่นก็เป็นของเขา ซึ่งไม่เกี่ยวกับเรา ไม่ช่วยให้เราได้พ้นทุกข์

        นิพพานอยู่ในตัวของเรา จะเข้าถึงได้เมื่อใจหยุดนิ่ง กิจนี้จึงเป็นกรณียกิจเป็นสิ่งที่ควรทำ ส่วนการทำมาหากินเพื่อเลี้ยงชีพ ก็เป็นเรื่องที่จะต้องทำควบคู่กันไป เราจะต้องอาศ้ยปัจจัย ๔ มาเลี้ยงชีวิตเรา เพื่อเอากำล้งหรือเอาความแข็งแรง ความสืบต่อของการมีชีวิตนี้ มาแสวงหามาทำพระนิพพานให้แจ้ง มาทำหยุด มาทำนิ่ง จนกระทั่งเข้าถึงแผนผังของชีวิตภายใน คือเห็นดวงธรรมเบื้องต้น ได้แก่ดวงใสๆ ที่เรียกว่าปฐมมรรค และก็จะเห็นเป็นชุดๆไป เห็นศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณบัสสนะ ซึ่งมีอยู่แล้วภายในตัวของเราแล้วก็จะเห็นกายในกาย ตามเห็นกันไปเรื่อยๆ ตั้งแต่เห็นกายมนุษย์ละเอียดที่หน้าตาเหมือนตัวเราที่เป็นเจ้าของ ท่านหญิงเหมือนท่านหญิง ท่านชายเหมือนท่านชาย พอเข้ากลางต่อไปก็เข้าถึงดวงธรรมอีกชุดหนึ่ง พอสุดดวงสุดท้ายก็เข้าถึงกายทิพย์และก็ดำเนินจิตอย่างนี้เรื่อยๆ กระทั่งเข้าถึงกายรูปพรหม อรูปพรหมกายธรรมโคตรภู กายธรรมพระโสดาบัน กายธรรมพระสกิทาคามี กายธรรมพระอนาคามี และกายธรรมพระอรหัต ซ้อนๆ กันอยู่ภายใน มีทั้งหยาบ มีทั้งละเอียด ๑๘ กาย เป็นแผนผังของชีวิต

        การที่จะเข้าถึง ๑๘ กายนั้น จะต้องอาศัยหยุดนิ่งอย่างเดียวเท่านั้น หยุดจนกระทั่งถูกส่วนและหยุดไปเป็นชั้นๆ ดูดเข้าไปเป็นชั้นๆ จึงจะเข้าถึงแต่บางท่านไปเข้าใจว่าการเข้าถึง ๑๘ กายโดยการยกขึ้นมา คือนึกเอากายนั้นขึ้น นึกเอากายนี้ขึ้น นึกเอากายมนุษย์ละเอียดขึ้น นึกเอากายทิพย์ กายรูปพรหมอรูปพรหม จนกระทั่งเข้าถึงกายธรรม คือนึกๆ ขึ้นมา อย่างนี้เรียกว่าขอถึง๑๘ กาย ย้งไม่เรียกว่าเข้าถึง ๑๘ กาย

        การเข้าถึงจะต้องหยุดเข้าไปเรื่อยๆ แล้วก็ละเอียดไปตามลำดับ จนกระทั่งหลุดจากสิ่งหนึ่งเข้าไปถึงอีกสิ่งหนึ่ง หลุดจากกายหยาบจึงเข้าถึงกายละเอียด หลุดจากกายละเอียดเข้าถึงกายทิพย์ เป็นอย่างนี้ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเป็นอ้นหนึ่งอ้นเดียวก้นกับตัวของเรา และก็ไม่ใช่แบบชะโงกมองเหมือนยกเถาปีนโตขึ้นมาอย่างนั้น ยกทีละเป็นเถาปิ่นโต ๑๘ กาย อย่างนี้เรียกว่า ๑๘ กายขอถึง แต่ข้อดีก็คือมันไม่ฟังไปคิดเรื่องอื่น คิดถึง ๑๘ กายเหมือนยกเถาปิ่นโตก็ยังดีกว่าแต่ก็ยังไม่ใช่ ต้องหยุดเข้าไปเรื่อยๆ หยุดไป หลุดไป ไปเรื่อยเลย หลุดเป็นชั้นๆ

       การหลุดก็รู้ว่าหลุด เรียกว่าวิมุตติ และก็วิมุตติญาณท้สสนะ คือหลุดจริงๆ เหมือนเรากระโดดข้ามคันคูจากฝั่งนี้ไปถึงฝั่งโน้น หลุดจากฝั่งนี้แล้วเข้าถึงฝั่งโน้น ดวงธรรมก็ดี กายภายในก็ดี ๑๘ กายต้องเป็นชั้นๆ อย่างนี้ ไม่ใช่ยกเป็นเถาปิ่นโตก้นขึ้นมา คือนึกขึ้นมาเป็นชุดๆ เพราะฉะนั้นทำให้ถูกหลักวิชชา อ้นนี้พูดหมายถึงผู้ที่กำลังทำแบบนี้ ไม่ได้หมายถึงผู้ที่มาใหม่ หรือผู้ที่ทำเป็น เพราะบางคนไปเข้าใจว่าเป็นอย่างนี้ แต่ว่าทำบ่อยๆ ไปเถิดทำไปเรื่อยๆ พอหายเหนื่อย หายลุ้นก็จะเข้าถึงจริงๆ จะมีสุขเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สบายแล้วก็บริลุทธิ้ จิตจะบริสุทธิ์เพิ่มไปเรื่อย ความอยากเด่น อยากดัง อยากให้คนเขาชม อยากให้เขารู้ว่าเราถึง ๑๘ กายจะหมดไปเอง จะไม่มีความรู้สึกว่าอยากให้เขารู้ให้เขาทราบเผื่อจะได้ชื่นชมเราอย่างนี้ไม่มี

      เพราะฉะนั้น ผู้ที่เข้าถึง หรีอไม่เข้าถึงจะรู้ดัวเองจิตจะบริลุทขึ้แตกต่างกัน ตั้งแต่ความคิด คำ พูด การกระทำ นึ่คือข้อลังเกต และควรระว้งไว้ให้ดี ถ้าเรามีมรรคผลนิพพานเป็นแก่นสาร มีที่สุดแห่งธรรมเป็นแก่นสาร การหลงตัวเอง จะไม่เกิดขึ้น การที่คิดแต่จะให้คนเขาชื่นชมยกย่องเพื่อให้เกิดผลอะไรบางอย่างที่เราต้องการก็จะไม่เกิดขึ้นจิตจะบริลุmilปเรื่อยๆ ยิ่งปลด ยิ่งปล่อย ยิ่งวาง ใจจะยิ่งละเอียดทีเดียว

     เพราะฉะนั้น ใครที่เข้าใจย้งไม่ถูกต้องก็แก้ไขนะลูกนะ เราปรับให้ถูกเราไม่ต้องการให้ใครครชมว่าเราเก่ง แต่เราต้องการความบริสุทธิ้ ความดีงามที่พื่งที่ระลึกที่แท้จริงของเรา เราต้องการกำลังใจในการสร้างบารมียิ่งๆ ขึ้นไป เพราะถ้าเข้าถึงจริงๆ ไม่ไปเที่ยวขอกำลังใจก้บใคร กำ ลังใจมีเพิ่มขึ้นทุกวันเลยไม่ต้องไปหาคนโน้นคนนี้ว่า เธอช่วยให้กำลังใจฉันลักหน่อยเถิด ช่วยบริจาคกำลังใจให้ฉันหน่อยเถิด กำลังใจของฉันมันลดน้อยถอยลงไปเรื่อยๆ เลย จะไม่มีอาการอย่างนี้ ใจจะใสบริสุทธิ์ จะคิด จะพูด จะทำ ก็เป็นอรรถเป็นธรรม ล้วนๆ เบิกบาน ไม่มีเหงาเลย เพราะว่านั่งอยู่คนเดียวเราก็มองดูพระไปเดี๋ยวพระท่านก็ขยายใหญ่ขึ้น ใสสว่างขึ้น จะใสในใส ชัดในชัดเรื่อยเลยเดี๋ยวก็มีองค็ใหม่ผุดขึ้นมาเรื่อย ๆ

      นี่คือข้อสังเกต หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข นั่งนอนยืนเดินเป็นสุข ใจสบายไม่วิตกก้งวลอะไรเลย นี่ดือห้วใจของผู้ที่เข้าถึง เป็นข้อสังเกตสำหรับต้วเราเอง ไม่ต้องไปสังเกตใครหรอก สังเกตต้วเรานี่แหละ เพราะเราทำเพื่อต้วเรา

      หลวงพ่อเคยถามคุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูงว่า "ยายเคยเหงาไหม" คุณยายอาจารย์ก็ตอบว่า "ไม่เคยเหงาเลยตั้งแต่เข้าถึงธรรม ไม่มีใครมายายก็นั่งคนเดียว ไปคุยกับพระในต้ว คุยกับเทวดาก็ได้ หรือนั่งหยุดในหยุดเข้านิโรธไปในกลางกาย ดูองค์พระในองค์พระไปเรื่อยๆ สบาย ยิ่งไม่มีคนมาคุยยิ่งสบายไม่มีเหงาเลย" นี่คือข้อสังเกตว่าเราเข้าถึงจริงหรือไม่จริงก็สังเกตดู มันจะเปลี่ยนแปลงไป ไม่ต้องไปเที่ยวเดินหาใคร ให้ใครเขามาชมว่าเราเก่ง เพราะยุคนี้เป็นยุคคิดใหม่ทำใหม่ เพราะฉะนั้นเราก็ต้องคิดใหม่ แล้วก็ทำใหม่ให้ถูกต้อง คิดให้ถูกต้อง ใจจะได้ใสๆ บุญจะได้มากๆ...


 

 

วันอาทิตย์ที่ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๔

จากหนังสือ แม่บท เดินทางข้ามวัฏสงสาร

       

       

     

        

       

     

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.016301981608073 Mins