พระมงคลเทพมุนีได้อธิบายถึงการเห็นในกายต่างๆ ว่ามีความแตกต่างกัน การเห็นในระดับ ของภูมิสมถะนั้นแตกต่างจากการเห็นในระดับของวิปัสสนา เพราะการเห็นในระดับวิปัสสนานั้นแจ่มแจ้งกว่า
...อ่านต่อ
สมถะ 1.กายมนุษย์ 2.กายมนุษย์ละเอียด 3.กายทิพย์ 4.กายทิพย์ละเอียด 5.กายรูปพรหม 6.กายรูปพรหมละเอียด 7.กายอรูปพรหม 8.กายอรูปพรหมละเอียด
...อ่านต่อ
วิปัสสนา ในแนวทางการปฏิบัติ เมื่อสิ้นเส้นทางของสมถะ ผู้ปฏิบัติจะเข้าถึงพระธรรมกายโคตรภู ซึ่งนั่นถือว่า เป็นการเริ่มต้นวิปัสสนา และจบลงที่กายธรรมพระอรหัต ตามคำของพระมงคลเทพมุนีที่ว่า ตั้งแต่กายธรรมโคตรภูทั้งหยาบทั้งละเอียด จนกระทั่งถึงกายพระอรหัตทั้งหยาบทั้งละเอียดนี้ ขั้นวิปัสสนา ตั้งแต่กายธรรมโคตรภู
...อ่านต่อ
วิปัสสนาที่กล่าวไว้ในพระไตรปิฎกมีอยู่ 6 อย่าง หรือที่ภาษาพระเรียกว่า มีภูมิ 6 ได้แก่ ขันธ์ 5 อายตนะ 12 ธาตุ 18 อินทรีย์ 22 อริยสัจ 4 ปฏิจจสมุปบาท
...อ่านต่อ
พระมงคลเทพมุนีได้อธิบายความหมายของวิปัสสนาว่า เห็นวิเศษ เห็นแจ้ง หรือเห็นต่างๆ ท่านอธิบายลักษณะการเห็นว่า หมายถึง การเห็นในรูป แจ้ง คือ แจ่มแจ้งโดยสามัญลักษณะว่าเป็นของไม่เที่ยง เต็มไปด้วยทุกข์และเป็นอนัตตา คือไม่ใช่ตัวตน สัตว์ บุคคล เรา เขา
...อ่านต่อ
ตลอดตั้งแต่กายมนุษย์ถึงกายอรูปพรหมละเอียด แค่นี้เรียกว่า สมถะ10) คือ เมื่อเราหยุดใจได้ เข้าถึงดวงปฐมมรรคในกายมนุษย์ เมื่อใด เมื่อนั้น จึงเรียกว่า เป็นการเริ่มต้นสมถะแล้ว ตามคำของ พระมงคลเทพมุนี ที่ว่า “ พอใจหยุดเท่านั้นแหละถูกตัวสมถะแล้ว หยุดนั่นแหละเป็นตัวสมถะ” และเมื่อเข้าต่อไปจนถึงกายมนุษย์ละเอียด กายทิพย์หยาบ กายทิพย์ละเอียด กายรูปพรหมหยาบ และสุดท้าย ที่กายอรูปพรหม-ละเอียด ก็เป็นอันสิ้นสุดภูมิของสมถะ แต่นั้นจึงเป็นขั้นของวิปัสสนา
...อ่านต่อ
พระมงคลเทพมุนีได้แบ่งระดับของสมถะ ไว้ในพระธรรมเทศนาเรื่อง “ สมาธิ” ไว้ว่ามี 2 ระดับ คือ 1.สมาธิโดยปริยายเบื้องต่ำ 2.สมาธิโดยปริยายเบื้องสูง
...อ่านต่อ
เมื่อใจหยุด หรือที่พระมงคลเทพมุนีกล่าวว่า เข้าสิบแล้วก็ตกศูนย์ ตกศูนย์ คือ ใจหยุด พอใจหยุดเรียกว่าเข้าสิบ จะปรากฏผลแห่งการปฏิบัติ คือ เห็นเป็นดวงใสเท่าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ผุดขึ้น
...อ่านต่อ
พระมงคลเทพมุนีอธิบายวิธีการของสมถะว่า ต้องใจหยุด ท่านกล่าวว่า”พอใจหยุดเท่านั้นถูกตัวสมถะแล้ว หยุดนั่นแหละเป็นตัวสมถะ หยุดนั่นเองเป็นตัวสำเร็จ ทั้งทางโลกและทางธรรมสำเร็จหมด โลกที่จะได้รับความสุข ใจต้องหยุดตามส่วนของโลก ธรรมที่จะได้รับความสุข ใจต้องหยุดตามส่วนของธรรม”5)
...อ่านต่อ
พระมงคลเทพมุนี ได้กล่าวเอาไว้ว่า สมถะ เป็นวิชชาเบื้องต้น2) แปลว่าสงบ แปลว่าระงับ แปลว่าหยุด แปลว่านิ่ง คือ การทำใจให้หยุด ให้สงบ
...อ่านต่อ
ดังที่ได้กล่าวแล้วว่า กัมมัฏฐานในพระพุทธศาสนามี 2 อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนา- กัมมัฏฐาน ทั้ง 2 ประการนี้ เรียกว่า ภาวนา คือ การทำให้เกิดขื้นเจริญขึ้น เพราะต้องอาศัยฉันทะ ความเพียร และการหมั่นฝึกฝน จึงจะเกิดขึ้นได้ ซึ่งทั้ง 2 ประการนี้มีลักษณะ วิธีการ และผลที่เกิดขึ้น แตกต่างกัน
...อ่านต่อ
การเจริญสมถะและวิปัสสนากัมมัฏฐาน ต้องทำควบคู่กันไปจึงจะเป็นหนทางเพื่อการหลุดพ้นทุกข์ ละกิเลสอาสวะทั้งหลายได้ โดยใช้สมถะเพื่อทำให้จิตหยุดนิ่งเป็นสมาธิ จนเกิดฌานขั้นต่างๆ และใช้ฌานเพื่อเป็นบาทแห่งวิปัสสนา สมถะจึงถือเป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานเบื้องต้น
...อ่านต่อ
สมถะและวิปัสสนาเป็นหลักปฏิบัติที่สำคัญ ที่บุคคลควรเจริญหรือทำให้เกิดขึ้นในตน ธรรมทั้ง 2 ประการนี้จะมาคู่กัน ในพระไตรปิฎกได้อธิบายถึงผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนา
...อ่านต่อ
การทำวิปัสสนาเป็นวิธีเพื่อให้พบความจริงของชีวิต ทำให้เห็นร่างกายอันประกอบขึ้นด้วยขันธ์ 5 และมีลักษณะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน
...อ่านต่อ
วิปัสสนา9) คือ ปัญญารู้แจ้ง หมายถึง ภาวนาปัญญา มีการหยั่งเห็นความไม่เที่ยง เป็นต้น ล่วงพ้นอารมณ์มีความเป็นบุรุษและสตรี พร้อมทั้งความเที่ยงและความสุขเป็นต้น ซึ่งมหาชนในโลก รู้เห็นกันในขันธ์ทั้งหลาย
...อ่านต่อ
เมื่อฝึกปฏิบัติ โดยการใช้อารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งข้างต้น จากสมาธิในระดับต้นที่เป็น ขณิกสมาธิ เมื่อได้หมั่นฝึกจิตบ่อยๆ จิตก็จะตั้งมั่นมากขึ้น
...อ่านต่อ
สมถกัมมัฏฐานเป็นการฝึกปฏิบัติขั้นต้นในการฝึกจิต มีลักษณะและวิธีการเป็นอย่างไร มีผลที่ เกิดขึ้นเป็นอย่างไร เพื่อความเข้าใจที่แจ่มแจ้งยิ่งขึ้น
...อ่านต่อ
“ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่ควงไม้ก็ดี ไปสู่เรือนร้างก็ดี นั่งขัดสมาธิ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า เธอมีสติหายใจออก มีสติหายใจเข้า เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว เมื่อหายใจออกสั้นก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น
...อ่านต่อ
“ ถ้าภิกษุผู้ยึดความพอใจเป็นใหญ่ ได้บรรลุสมาธิคือบรรลุความมีสภาพเป็นหนึ่งแห่งจิต สมาธินี้เรียกว่า ฉันทสมาธิ ถ้าภิกษุผู้ยึดความเพียรเป็นใหญ่ได้ บรรลุสมาธิ คือ บรรลุความมีสภาพเป็นหนึ่งแห่งจิต สมาธินี้เรียกว่า วิริยสมาธิ ถ้าภิกษุผู้ยึดจิตเป็นใหญ่ได้บรรลุสมาธิคือ บรรลุความมีสภาพเป็นหนึ่งแห่งจิต สมาธินี้เรียกว่า จิตตสมาธิ ถ้าภิกษุผู้ยึดการสอบสอนเป็นใหญ่ได้บรรลุสมาธิ คือ บรรลุความมีสภาพเป็นหนึ่งแห่งจิต สมาธินี้เรียกว่า วิมังสาสมาธิ”22)
...อ่านต่อ
เป็นหลักปฏิบัติที่แสดงให้เห็นถึงหลักการของจิตที่เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามลำดับจนกระทั่ง เกิดสมาธิขึ้น โดยแสดงให้เห็นถึงสภาวะจิตที่เริ่มเกิดจากมีปราโมทย์ หรือเกิดความปลาบปลื้มบันเทิงใจ จากการทำสิ่งที่ดีงามอย่างใดอย่างหนึ่ง จนเกิดความอิ่มใจ (ปีติ) ร่างกายจึงผ่อนคลาย สงบ จิตใจสบาย (ปัสสัทธิ) มีความสุข และสมาธิก็เกิดขึ้นตามลำดับดังนี้ ปราโมทย์ → ปัสสัทธิ → สุข → สมาธิ
...อ่านต่อ
การทำงานทุกอย่างจะประสบผลสำเร็จได้จำเป็นต้องมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน การที่บุคคลทำกิจกรรมแบบไม่มีจุดหมายปลายทางก็เหมือนกับการล่องเรือไปในมหาสมุทรโดยไม่มีเข็มทิศและแผนที่ ไม่รู้ จะไปทางไหนดี
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล