สังฆเภท คือ การกระทำที่ทำให้พระภิกษุแตกกัน ซึ่งการทำให้สงฆ์แตกกันที่เป็นอนันตริยกรรมนั้น ผู้กระทำจะต้องเป็นพระภิกษุเท่านั้น หากเป็นผู้อื่นที่ไม่ใช่พระภิกษุ เช่น สามเณรหรือคฤหัสถ์ ก็ไม่จัดเป็นอนันตริยกรรม เป็นแต่เพียงได้สร้างกรรมหนักที่มีกำลังน้อยกว่าการที่พระภิกษุทำให้สงฆ์แตกกัน
...อ่านต่อ
  โลหิตุปบาท คือ การทำร้ายพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นผลให้พระโลหิตห้อในพระวรกาย ทั้งนี้เป็นเพราะพระวรกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็น อเภทกาย
...อ่านต่อ
  อรหันตฆาต คือ การฆ่าพระอรหันต์ ซึ่งแม้ว่าท่านจะบรรลุเป็นพระอรหันต์แต่ยังไม่ทันได้บวชเป็นพระภิกษุก็เป็นอนันตริยกรรม
...อ่านต่อ
มาตุฆาต และปิตุฆาต การฆ่ามารดาและบิดา หมายถึงมารดาและบิดาผู้ให้กำเนิดเท่านั้น ไม่ได้รวมถึงมารดาและบิดาผู้คอยเลี้ยงดูหรือผู้มีพระคุณในภายหลัง
...อ่านต่อ
 ความหมายของครุกรรม             ครุกรรม หมายถึง กรรมที่กำลังแรงมากหรือกรรมที่หนักมาก สามารถที่จะให้ผลแก่ผู้เป็นเจ้าของกรรมเป็นลำดับแรก โดยกรรมอื่นๆ ไม่มีอำนาจที่จะสามารถขวางกั้นการให้ผลแห่งครุกรรมได้
...อ่านต่อ
อุปฆาตกกรรม หมายถึง กรรมที่มีหน้าที่เข้าไปฆ่าหรือเข้าไปตัดรอนกรรมอื่นๆ ที่มีสภาพตรงกันข้ามกับตนให้สิ้นลงอย่างเด็ดขาด จึงมีชื่อเรียกกรรมนี้อีกอย่างหนึ่งว่า อุปัจเฉทกกรรม ซึ่งแปลว่า กรรมที่เข้าไปตัด
...อ่านต่อ
อุปปีฬกกรรม หมายถึง กรรมที่ทำหน้าที่บีบคั้น เบียดเบียนสุขและทุกข์ของกรรมอื่นที่มีสภาพตรงกันข้ามกับตน
...อ่านต่อ
อุปัตถัมภกกรรม หมายถึง กรรมที่ทำหน้าที่อุปถัมภ์ค้ำชูกรรมอื่น คือการเข้าไปค้ำชูกรรมของสัตว์ทั้งหลายที่ไปเกิดในภูมิต่างๆ ให้ได้รับความทุกข์และความสุขตามสมควรแก่กรรมของตน
...อ่านต่อ
ชนกกรรม หมายถึง กรรมที่ทำหน้าที่นำสัตว์ไปเกิดในภพภูมิต่างๆ เพราะการที่สัตวโลกจะเกิดขึ้นมาได้ในภพ 3 เช่น สัตว์เดรัจฉาน มนุษย์ เทวดา เป็นต้น ย่อมเกิดขึ้นด้วยอำนาจแห่งชนกกรรมทั้งสิ้น
...อ่านต่อ
ปัจจุบันวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าอย่างมาก ทำให้เกิดเทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างไม่หยุดยั้ง เป็นผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคมอย่างต่อเนื่อง
...อ่านต่อ
มีคำกล่าวเรื่องหลักกรรมของผู้ที่มีความเห็นผิด ผู้ที่ไม่ได้ศึกษาพระพุทธศาสนาอย่างถ่องแท้ หรือศึกษาแล้วแต่ไม่ได้ลงมือปฏิบัติว่า ทำดีได้ดีมีที่ไหน ทำชั่วได้ดีมีถมไป หรือทำดีได้ดีจริงหรือ ทำชั่วได้ชั่วจริงไหม คำกล่าวนี้ขัดแย้งกับคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่กล่าวมาแล้ว
...อ่านต่อ
นักศึกษาที่ได้ศึกษาวิชาปรโลกมาแล้ว คงยังจำได้ว่า สาเหตุที่ทำให้มนุษย์เกิดมามีความแตกต่างกัน คือ กรรมที่บุคคลนั้นได้สร้างไว้ในอดีต ในวิชาปรโลกกล่าวแต่เพียงภาพรวม ไม่ได้อธิบายเจาะลึกในรายละเอียด ส่วนในวิชากฎแห่งกรรม ในหัวข้อนี้จะนำเสนอรายละเอียดเพิ่มเติมให้มากขึ้น และเน้นให้เห็นความสำคัญของกฎแห่งกรรมในฐานะตัวแปรที่กำหนดสรรพสัตว์ทั้งหลายให้มีความแตกต่างกัน
...อ่านต่อ
นักศึกษาได้ผ่านการศึกษาวิชาจักรวาลวิทยาและปรโลกวิทยามาแล้ว คงจะทราบดีแล้วว่า ชีวิตมนุษย์ไม่ได้มีเฉพาะชาตินี้เท่านั้น แต่ยังคงหมุนเวียนเปลี่ยนไปตามอำนาจแห่งการกระทำของแต่ละบุคคล นับภพนับชาติไม่ถ้วน จนกว่าจะหมดกิเลสเข้าสู่นิพพาน จึงจะถือว่าสิ้นสุดการเวียนว่ายตายเกิด
...อ่านต่อ
การที่เรารู้จักคุณประโยชน์ คุณค่า คุณงามความดีของสิ่งหนึ่งสิ่งใด จะทำให้เราเป็นผู้มีความประพฤติปฏิบัติไปในทางที่ถูกต้อง รู้ทั้งคุณและโทษแล้วเลือกทำแต่คุณความดีอย่างเดียว ในกรณีที่เราศึกษาเรื่องกฎแห่งกรรมย่อมก่อให้เกิดประโยชน์มหาศาล
...อ่านต่อ
เป็นความจริงอย่างหนึ่งที่ว่า ต่างคนต่างความคิด ต่างคนต่างมีทิฏฐิความเชื่อเป็นของตน ที่คิดคล้ายๆ กันก็คบหาสมาคมกัน ที่คิดต่างกันก็แยกย้ายต่างคนต่างไป
...อ่านต่อ
อวิชชาคือความไม่รู้ เมื่อไม่รู้จึงถูกกิเลสครอบงำได้ง่าย ทำให้หมู่สัตว์เห็นผิดเพี้ยนในการกระทำทางกาย ทางวาจา และทางใจ จึงส่งผลทำให้เกิดการเวียนว่ายตายเกิด มีสังขารมีวิญญาณรองรับ ถือกำเนิดในรูปแบบต่างๆ ตามแต่กรรมนำไป
...อ่านต่อ
โครงสร้างภาพรวมเรื่องกรรม มีความเป็นมาหลายยุคหลายสมัย เป็นเรื่องที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ซึ่งจุดกำเนิดอย่างจริงจังและระยะเวลาการสืบทอดดำรงคำสอนสืบต่อกันมาทางฝ่ายพระพุทธศาสนานั้น แบ่งออกเป็น 2 ยุค คือ ยุคสมัยพุทธกาล
...อ่านต่อ
ตามหลักกฎแห่งกรรมที่ว่า ใครทำกรรมใดย่อมได้รับผลของกรรมนั้น ทำดีย่อมได้ดี ทำชั่วย่อมได้ชั่ว ซึ่งกรรมดีกรรมชั่วและการให้ผล พระพุทธองค์ทรงแยกลักษณะกรรมและการให้ผลของกรรมแบ่งออกเป็น 4 ประเภท
...อ่านต่อ
ดังที่ทราบว่าวัฏสงสารเกิดเพราะหมู่สัตว์มีเชื้อแห่งกิเลสปรุงแต่ง ทำให้เกิดกุศลธรรมอกุศลธรรมครอบงำการกระทำทางกาย ทางวาจา และทางใจ พระพุทธองค์ตรัสถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดกรรม โดยแบ่งเป็น 2 ฝ่าย
...อ่านต่อ
จากพุทธภาษิตที่ว่า “ บุคคลหว่านพืชเช่นไร ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้ทำกรรมดีย่อมได้ผลดี ผู้ทำกรรมชั่วย่อมได้ผลชั่ว” ทำให้เราเกิดความสงสัยว่ากรรมดีกรรมชั่วที่ทำไปแล้วอยู่ที่ไหน จะลองเปรียบเทียบจากอุปมาของพระพุทธองค์ที่ตรัสไว้
...อ่านต่อ
ดังที่ทราบ เจตนาคือกรรม กรรมที่เกิดทางกาย ทางวาจา และทางใจ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ฝ่ายใหญ่ๆ คือ กุศลกรรม และอกุศลกรรม เมื่อจะตัดสินหากฎเกณฑ์ตรวจสอบว่ากรรมที่ทำนั้นเป็นกรรมฝ่ายใด ให้ดูที่ผลหลังจากที่ทำ ซึ่งมีเกณฑ์ตัดสิน
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล