อานุภาพพระมหาสิริราชธาตุ

พระมหาสิริราชธาตุ รุ่นดูดทรัพย์ สำหรับ ผู้สร้างพระธรรมกายประจำตัวภายในมหาธรรมกายเจดีย์นั้น จะได้รับของที่ระลึกเป็นพระธรรมกายของขวัญ

อานุภาพพระมหาสิริราชธาตุ หลักฐานต่างๆ ที่กล่าวถึงธรรมกาย

 

หลักฐานต่างๆ ที่กล่าวถึงธรรมกาย

คำว่า "ธรรมกาย" มีปรากฏเป็นหลักฐานในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทหลายแห่ง เท่าที่ปรากฏค้นพบคือ ในพระไตรปิฎก ๔ แห่ง ในอรรถกถา ๒๘ แห่ง ในฎีกา ๗ แห่ง ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ๒ แห่ง ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคมหาฎีกา ๓ แห่ง ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคโบราณ ๑ แห่ง ในคัมภีร์มิลินทปัญหา ๑ แห่ง ในหนังสือปฐมสมโพธิกถา ๑ แห่ง ในหนังสือสมถวิปัสสนาแบบโบราณ ๑ แห่ง ในหลักศิลาจารึก ๓ แห่ง และนอกจากนี้ยังมีปรากฏในพระไตรปิฎก ฉบับมหายาน อยู่มากมายนับไม่ถ้วน ในที่นี้จะนำเสนอเฉพาะหลักฐานที่ปรากฏในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทให้ทราบก่อน

หลักฐานชั้นพระไตรปิฎก


๑.ที.ปา อัคคัญญสูตร ๑๑/๕๕/๙๑-๙๒

๒.ขุ.อป. มหาปชาบดีโคตมีเถรีอปทาน ๓๓/๑๕๗/๒๘๔

๓.ขุ.อป. ปัจเจกพุทธาปทาน ๓๒/๒/๒๐

๔.ขุ.อป. อัตถสันทัสสกเถราปทาน อปทาน ๓๒/๑๓๙/๒๔๓

หลักฐานชั้นอรรถกถา

๑.วินย.อ. สมนฺตปาสาทิกา เวรญฺชกณฺฑวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๑๖-๑๑๗

๒.ที.อ. สุมงฺคลวิลาสินี พฺรหฺมชาลสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๔

๓.ที.อ. สุมงฺคลวิลาสินี อคฺคญฺญสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๕๐

๔.สํ.อ. สารตฺถปฺปกาสินี ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๔๒-๓๔๓ (อรรถกถาวักกลิสูตร)

๕.สํ.อ. สารตฺถปฺปกาสินี จกฺกวตฺติสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๒๒-๒๒๓

๖.ขุ.อ. ปรมตฺถโชติกา มงฺคลสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๙๕

๗.ขุ.อุ.อ. ปรมตฺถทีปนี พาหิยสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๙๐,๙๑

๘.ขุ.อุ.อ. ปรมตฺถทีปนี โสณสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๓๒-๓๓๓

๙.ขุ.อิติ.อ. ปรมตฺถทีปนี นิทานวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๓

๑๐.ขุ.อิติ.อ. ปรมตฺถทีปนี ปญฺจปุพฺพนิมิตฺตสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๙๑

๑๑.ขุ.อิติ.อ. ปรมตฺถทีปนี อคฺคปฺปสาทสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๒๐-๓๒๑

๑๒.ขุ.อิติ.อ. ปรมตฺถทีปนี สงฺฆาฏิกณฺณสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๓๔

๑๓.ขุ.สุตฺต.อ. ปรมตฺถทีปนี ธนิยสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๙

๑๔.ขุ.สุตฺต.อ. ปรมตฺถทีปนี อุปสีวสุตฺตวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๔๔๓

๑๕.ขุ.วิมาณ.อ. ปรมตฺถทีปนี รชฺชุมาลาวิมานวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๔๖

๑๖.ขุ.เถร.อ. ปรมตฺถทีปนี กงฺขาเรวตเถรคาถาวณฺณนา (ปฐโม ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๕๑

๑๗.ขุ.เถร.อ. ปรมตฺถทีปนี สิริวฑฺฒเถรคาถาวณฺณนา (ปฐโม ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๖๗

๑๘.ขุ.เถร.อ. ปรมตฺถทีปนี นาคิตฺเถรคาถาวณฺณนา (ปฐโม ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๘๕

๑๙.ขุ.เถร.อ. ปรมตฺถทีปนี เมตฺตชิตเถรคาถาวณฺณนา (ปฐโม ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๐๔

๒๐.ขุ.เถร.อ. ปรมตฺถทีปนี เสนกตฺเถรคาถาวณฺณนา (ทุติโย ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๙

๒๑.ขุ.เถร.อ. ปรมตฺถทีปนี สรภงฺคเถรคาถาวณฺณนา (ทุติโย ภาโค) ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๕๘

๒๒.ขุ.เถร.อ. ปรมตฺถทีปนี เขนฺตาเถรีคาถาวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๕

๒๓.ขุ.เถร.อ. ปรมตฺถทีปนี มหาปชาบดีโคตมีเถรีคาถาวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๑๕๘

๒๔.ขุ.มหานิทฺ.อ. สทฺธมฺมปชฺโชติกา ติสฺสเมตฺเตยฺยสุตฺตนิทฺเทสวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๖๓

๒๕.ขุ.จูฬนิทฺ.อ. สทฺธมฺมปชฺโชติกา อุปสีวมาณวกสุตฺตนิทฺเทสวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๑

๒๖.ขุ.อป.อ. วิสุทธชนวิลาสินี ปจฺเจกพุทธาปทานวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๒๔๕

๒๗.ขุ.พุทธ.อ. มธุรตฺถวิลาสินี รตนจงฺกมนกณฺฑวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๗๔

๒๘.ขุ.จริยา.อ. ปรมตฺถทีปนี ปกิณณกกถา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๓๒๔
 

หลักฐานชั้นฎีกา

๑.วินย.ฎีกา. ตติยสงฺคีติกถาวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๑ หน้า ๑๕๖-๑๕๗

๒.วินย.ฎีกา. เวรญฺชกณฺฑวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๑ หน้า ๒๖๓

๓.วินย.ฎีกา. เวรญฺชกณฺฑวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๑ หน้า ๓๘๗-๓๘๘

๔.วินย.ฎีกา เวรญฺชกณฺฑวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๑ หน้า ๔๓๙

๕.วินย.ฎีกา ทุติยปาราชิก วินีตวตฺถุวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๒ หน้า ๒๐๓

๖.วินย.ฎีกา โสณกุฏิกณฺณวตฺถุกถาวณฺณนา ฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๓ หน้า ๓๖๒-๓๖๓

๗.ม.ฎี.ลีนตฺถปฺปกาสินี มชฺฌิมอุปริปณฺณาสฎีกา ฉบับมหาจุฬาฯ หน้า ๕๐

หลักฐานจากคัมภีร์และหนังสืออื่นๆ

๑.วิสุทธิมรรค

(๑) วิสุทธิมคฺคปกรณ พุทธานุสสติกถา ฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๑ หน้า ๒๓๐

(๒) วิสุทธิมคฺคปกรณ มรณสฺสติกถา ฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๑ หน้า ๒๕๕-๒๕๖

๒.วิสุทธิมรรคมหาฎีกา

(๑) วิสุทธิ.ฎีกา ปรตฺถมญฺชุสา พรรณนา อนุสสตินิเทศ (พุทธานุสติ) ภาค ๒ ฉบับภูมิพโลภิกขุ บาลี-ไทย หน้า ๔๙๔-๔๙๗

(๒) วิสุทธิ.ฎีกา ปรตฺถมญฺชุสา อนุสสติกัมมัฏฐานนิเทศ (มรณสติ) ภาค ๓ ฉบับภูมิพโลภิกขุ บาลี-ไทย หน้า ๒๐-๒๒

(๓) วิสุทธิ.ฎีกา ปรตฺถมญฺชุสา พรรณนาอารุปปนิเทศ (ปกิณกกถา) ภาค ๓ ฉบับภูมิพโลภิกขุ บาลี-ไทย หน้า ๔๙๗-๔๙๘

๓.คัมภีร์วิสุทธิมรรคโบราณ

แต่งโดยพระพุทธโฆษาจารย์ ประมาณ พ.ศ.๑๐๐๐ หน้า ๒๘๒

๔.คัมภีร์มิลินทปัญหา เรื่องพุทธนิทัสสนปัญหา หน้า ๑๑๓

๕.หนังสือพระปฐมสมโพธิกถา

พระนิพนธ์ในสมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส ตอนมารพันธปริวรรต ปริจเฉทที่ ๒๘ หน้า ๕๐๙

๖.หนังสือพระสมถวิปัสสนาแบบโบราณ

หลักฐานจากศิลาจารึก

๑.ศิลาจารึก พระธรรมกาย พ.ศ.๒๐๙๒ ภาษาไทย-บาลี อักษรขอมสุโขทัย บัญชี/ทะเบียนวัตถุ/พล.๒ พบที่พระเจดีย์วัดเสือ
อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนคร กรุงเทพฯ

๒.ศิลาจารึกที่เมืองพิมาย เป็นศิลาจารึกภาษาสันสกฤต อักษรขอม มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พบที่อำเภอพิมาย
จังหวัดนครราชสีมา ได้มีการถอดความและแปลแล้ว จัดพิมพ์ขึ้นเป็นหนังสือเรื่อง "จารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗" ปัจจุบันอยู่ที่
หอสมุดวชิรญาณ (หอสมุดแห่งชาติกรุงเทพฯ)

๓.ศิลาจารึกที่ปราสาทพระขรรค์ เป็นจารึกภาษาสันสกฤต

บทความนี้ ถูกใจคุณหรือไม่ + -

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล