พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสความหมายของการอบรมธรรมะไว้ดังนี้
...อ่านต่อ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสถึงการเป็นพระภิกษุผู้รักการฝึกตนไว้ในเสนาสนสูตรดังนี้
...อ่านต่อ
วัดที่เหมาะแก่การบรรลุธรรมนั้น จะต้องมี "พระเถระ" อยู่ประจำเป็นจำนวนมาก เป็นเสมือนแหล่งชุมนุมบัณฑิตในทางธรรม โดย "พระเถระ" ที่ดีนั้น ต้องมีคุณสมบัติตรงตามที่ "พระสัมมาสัมพุทธเจ้า" ตรัสไว้ใน "เสนาสนสูตร"
...อ่านต่อ
ปัจจัย ๔ หมายถึง "เครื่องดำรงชีวิต" เป็นสิ่งที่จำเป็น ขาดไม่ได้ ขาดแล้วเป็นอันตรายถึงชีวิต
...อ่านต่อ
“อยู่ไม่ไกลนัก ไม่ใกล้นัก มีทางไปมาสะดวก กลางวันไม่พลุกพล่าน กลางคืนมีเสียงน้อย ไม่อึกทึก มีเหลือบยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลานกระทบน้อย”
...อ่านต่อ
"ผู้มีปัญญา" (คือ) ประกอบด้วย "ปัญญา" เป็นเครื่องพิจารณาเห็นทั้ง "ความเกิด และ ความดับ" อันเป็น "อริยะ" ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ
...อ่านต่อ
"ผู้มีความเพียร" คือ ผู้ที่ละ "อกุศลธรรม" เพื่อให้ "กุศลธรรม" เกิด มีความเข้มแข็ง มีความบากบั่น มั่นคง ไม่ทอดธุระใน "กุศลธรรม" ทั้งหลาย
...อ่านต่อ
"ผู้ไม่โอ้อวด ไม่มีมารยา" คือ ทำตนให้เปิดเผยตามความเป็นจริงใน "ศาสดา" หรือ ในเพื่อน "พรหมจารี" ผู้รู้ทั้งหลาย
...อ่านต่อ
"ผู้มีอาพาธน้อย" คือ ผู้มีโรคเบาบาง ประกอบด้วย "ไฟธาตุ" สำหรับย่อยอาหารสม่ำเสมอ ไม่เย็นจัด ไม่ร้อนจัด เป็นปานกลาง ควรแก่การ บำเพ็ญเพียร
...อ่านต่อ
ศรัทธา แปลว่า ความเชื่อ หมายถึง เฉพาะ ศรัทธา ที่เชื่อด้วยปัญญา เชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ เชื่อด้วยเหตุผล ถ้าเชื่อโดยปราศจากปัญญา เรียกว่า อธิโมกข์ (ความน้อมใจเชื่อ หรือเชื่อตามเขา)
...อ่านต่อ
นี่คือ คำปฏิญาณเมื่อทุกคนเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาไม่ว่าจะบวชสั้นแค่ ๑ พรรษา หรือ บวชยาวไปตลอดชีวิตเขามีหน้าที่จะต้องทำตามคำปฏิญาณนั้นให้ได้ เป้าหมายที่แท้จริง คือ "การกำจัดทุกข์" ไม่ใช่บวชเพื่อเล่น ไม่ใช่บวชเพื่อเอาสนุก หรือ บวชตามประเพณีแต่บวชแล้วต้องเอาจริง เอาจัง มุ่งไป "พระนิพพาน" ด้วยการฝึกฝนอบรมตนเอง ตามธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล