วิธีอุปสมบทนาคคู่

วันที่ 22 กค. พ.ศ.2564

640711_01.jpg

วิธีอุปสมบทนาคคู่

      วิธีและขั้นตอนในการบวชก็เหมือนกับที่ทล่าวมาแล้ว จะกล่าวเฉพาะคำขอต่าง ๆ ที่ แตกต่างกันเท่านั้น ดังนี้

คำขอบรรพชานาคคู่
      เอเต มะยัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามะ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ละเภยยามะ มะยัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยามะ อุปะสัมปะทัง.
      ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตังภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามะ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังมัญจะ, สะเภยยามะ มะยัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยามะ อุปะสัมปะทัง.
      ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามะ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ละเภยยามะ มะยัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยามะ อุปะสัมปะทัง.
      มะยัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามะ, อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ คะเหต๎วา, ปัพพาเชถะ โน ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ.
      ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามะ, อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ คะเหต๎วา, ปัพพาเชถะ โน ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ.
      ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามะ, อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ คะเหต๎วา, ปัพพาเชถะ โน ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ.

คำขอนิสสัยนาคคู่
     
มะยัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามะ.
ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามะ.
ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามะ.
      อุปัชฌาโย โน ภันเต โหหิ. (๓ หน)
      อัชชะตัคเคทานิ เถโร, อัมทากัง ภาโร,
      มะยัมปิ เถรัสสะ ภารา. (๓ หน)

คำขออุปสมบทพร้อมกัน
      สังฆัมภันเต, อุปะสัมปะหัง ยาจามะ, อุลลุมปะตุ โน ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ.
      ทุติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามะ, อุลลุมปะตุ โน ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ.
      ตะติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามะ, อุลลุมปะตุ โน ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ.

แบบสวดกรรมวาจาในอุปสมบทกรรม
สำหรับนาคเดี่ยว

      เมื่อผู้มุ่งอุปสมบทออกไปยืนข้างนอกเรียบร้อยแล้ว พระกรรมวาจาจารย์ (คู่สวด) พึงนั่งคุกเข่าประนมมือ กราบพระ ๓ ครั้ง แล้วเปล่งคำนมัสการพระรัตนตรัยว่า

      นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
      นะโม ตัสสะ, ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
      นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต สัมมา, สัมพุทธัสสะ.

คำสมมติตนเพื่อสอนซ้อม
      สมมตินาคชื่อ
ปะริสุทโธ สมมติพระอุปัชฌาย์ชื่อ ธัมมะจาโร สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, ปะริสุทโธ, อายัส๎มะโต ธัมมะจารัสสะ อุปสัมปะทาเปกโข, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, อะหัง ปะริสุทธัง อะนุสาเสยยัง.

คำสอนซ้อม
      สุณะสิ ปะริสุทธะ, อะยันเต สัจจะกาโล ภูตะกาโล, ยัง ชาตัง ตัง สังฆะมัชเฌ ปุจฉันเต, สันตัง อัตถีติ วัตตัพพัง, อะสันตัง นัตถีติ วัตตัพพัง, มา โข วิตถาสิ, มา โข มังกุ อะโหสิ, เอวันตัง ปุจฉิสสันติ, สันติ เต เอวะ รูปา อาพาธา,

คำถาม         คำตอบ
๑. กุฏฐัง.         นัตถิ ภันเต.
๒. คัณโฑ.      นัตถิ ภันเต.
๓. กิลาโส.      นัตถิ ภันเต.
๔. โสโส.         นัตถิ ภันเต.
๕. อะปะมาโร.     นัตถิ ภันเต.

๑. มะนุสโสสิ.     อามะ ภันเต.
๒. ปุริโสสิ.         อามะ ภันเต.
๓. ภุชิสโสสิ.       อามะ ภันเต.
๔. อะนะโณสิ.     อามะ ภันเต.
๕. นะสิ ราชะภะโฏ.     อามะ ภันเต.
๖. อะนุญญาโตสิ มาตาปิตูหิ.     อามะ ภันเต.
๗. ปะริปุณณะวีสะติวัสโสสิ.     อามะ ภันเต.
๘. ปะริปุณณันเต ปัตตะจีวะรัง.     อามะ ภันเต.
กินนาโมสิ.             อะหัง ภันเต ปะริสุทโธ นามะ.
โก นามะ เต อุปัชฌาโย.     อุปัชฌาโย เม ภันเต อายัส๎มา ธัมมะจาโร นามะ.

คำขอเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้ามา
     สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, ปะริสุทโธ, อายัส๎มะโต ธัมมะจารัสสะ อุปะสัมปะทาเปกโข, อะนุสิฏโฐ โส มะยา, ยะหิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, ปะริสุทโธ อาคัจเฉยยะ. (คำเรียก) อาคัจฉาหิ.

คำพระอุปัชฌาย์กล่าวเผดียงสงฆ์
      อิทานิ โข อาวุโส (ภันเต) อะยัง ปะริสุทโธ นามะ สามะเณโร มะมะ อุปะสัมปะทาเปกโข อุปสัมปะทัง อากังขะมาโน, สังฆัง ยาจะติ, อะหัง สัพพะมิมัง สังฆัง อัชเฌสามิ, สาธุ อาวุโส (ภันเต) สัพโพยัง สังโฆ, อิมัง ปะริสุทธัง นามะ สามะเณรัง, อันตะรายิเก ธัมเม ปุจฉิต๎วา, ตัตถะ ปัตตะกัลลัตตัง ญัต๎วา, ญัตติจะตุตเถนะ กัมเมนะ อะกุปเปนะ ฐานาระเหนะ อุปะสัมปาเทมาติ, กัมมะสัน-นิฏฐานัง กะโรตุ. ที่ประชุมสงฆ์รับพร้อมกันว่า สาธุ
      หมายเหตุ : บทว่า อาวุโส นั้น ถ้ามีภิกษุพรรษาแก่กว่าอปัชฌาย์ร่วมประชุมอยู่ด้วย พึงใช้ ภันเต แทน.

คำสมมติตนเพื่อสามอันตรายิกธรรม
      สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง ปะริสุทโธ, อายัส๎มะโต ธัมมะจารัสสะ อุปสัมปะทาเปกโข, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, อะหัง ปะริสุทธัง อันตะรายิเก ธัมเม ปุจเฉยยัง.

คำถามอันตรายิกธรรม
      สุณะสิ ปะริสุทธะ, อะยันเต สัจจะกาโล ภูตะกาโล, ยัง ชาตัง ตัง ปุจฉามิ, สันตัง สัตถีติ วัตตัพพัง, อะสันตัง นัตถีติ วัตตัพพัง, สันติ เต เอวะรูปา อาพาธา

คำถาม         คำตอบ
กุฏฐัง.         นัตถิ ภันเต
ฯเปฯ         ฯเปฯ

โก นามะ เต อุปัชฌาโย.     อุปัชฌาโย เม ภันเต อายัส๎มา ธัมมะจาโร นามะ.

กรรมวาจาอุปสมบท
       สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง ปะริสุทโธ, อายัส๎มะโต ธัมมะจารัสสะ อุปะสัมปะทาเปกโข, ปะริสุทโธ อันตะรายิเกหิ ธัมเมหิ, ปะริปุณณัสสะ ปัตตะจีวะรัง, ปะริสุทโธ สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจะติ, อายัส๎มะตา ธัมมะจาเรนะ อุปัชฌาเยนะ, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, สังโฆ ปะริสุทธัง อุปะสัมปาเทยยะ, อายัส๎มะตา ธัมมะจาเรนะ อุปัชฌาเยนะ, เอสา ญัตติ.
      สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง ปะริสุทโธ, อายัส๎มะโต ธัมมะจารัสสะ อุปะสัมปะทาเปกโข, ปะริสุทโธ อันตะรายิเกหิ ธัมเมหิ, ปะริปุณณัสสะ ปัตตะจีวะรัง, ปะริสุทโธ สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจะติ, อายัส๎มะตา ธัมมะจาเรนะ อุปัชฌาเยนะ, สังโฆ ปะริสุทธัง อุปะสัมปาเทติ, อายัส๎มะตา ธัมมะจาเรนะ อุปัชฌาเยนะ, ยัสสายัส๎มะโต
ขะมะติ, ปะริสุทธัสสะ อุปะสัมปะทา, อายัส๎มะตา ธัมมะจาเรนะ อุปัชฌาเยนะ, โส ตุณ๎หัสสะ, ยัสสะ นะ ขะมะติ, โส ภาเสยยะ.

      ทุติยัมปิ เอตะมัตถัง วะทามิ, สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัง ปะริสุทโธ, อายัส๎มะโต ธัมมะจารัสสะ อุปะสัมปะทาเปกโข, ฯเปฯ โส ภาเสยยะ.

      ตะติยัมปิ เอตะมัตถัง วะทามิ, สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ ฯเปฯ โส ภาเสยยะ.

      อุปะสัมปันโน สังเฆนะ, ปะริสุทโธ อายัส๎มะตา ธัมมะจาเรนะ อุปัชณาเยนะ, ขะมะติ สังฆัสสะ, ตัส๎มา ตุณ๎หี, เอวะเมตัง, ธาระยามิ.
หมายเหตุ : อนุสาวนาที่ ๒ ที่ ๓ ซึ่ง ฯเปฯ ไว้นั้นพึงสวดเต็มเหมือนอนุสาวนาที่ ๑

แบบสวดกรรมวาจาในอุปสมบทกรรม
สำหรับนาคคู่

      ถ้าอุปสัมปทาเปกขะที่จะอุปสมบทมีหลายรูป อุปสมบทพร้อมกันได้คราวละ ๒ รูป ๓ รูป แต่ให้มีพระอุปัชฌาย์องค์เดียวกันได้ คำสวดกรรมวาจาจึงต้องเปลี่ยนวิภัตติและวจนะ ให้
ถูกต้องตามหลักภาษาบาลีดังนี้ สมมตินาคชื่อ
ปุณโณ, โอภาโส, สมมติพระอุปัชฌาย์ชื่อ กุสะละธัมโม

คำสวดสมมติและคำสอนซ้อม
      สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, ปุณโณ จะ โอภาโส จะ อายัส๎มะโต กุสะละธัมนัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, อะหัง ปุณณัญจะ โอภาสัญจะ อะนุสาเสยยัง.
      สุณะสิ ปุณณะ, อะยันเต สัจจะกาโล ภูตะกาโล, ยัง ชาตัง ฯเปฯ อุปัชฌาโย เม ภันเต อายัส๎มา กุสะละธัมโม นามะ.
(ข้อความที่ ฯเปฯ ไว้ ให้สวดถามทีละรูปเหมือนคำสอน ซ้อม)

คำขอเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้ามา
      สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, ปุณโณ จะ โอภาโส จะ ฮายัส๎มะโต กุสะละธัมมัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, อะนุสิฏฐา เต มะยา, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, ปุณโณ จะ โอภาโส จะ อาคัจเฉยยุง. (คำเรียก) อาคัจฉะถะ.

คำอุปัชฌาย์กล่าวเผดียงสงฆ์
      อิทานิ โข อาวุโส (ภันเต) อะยัญจะ ปุณโณ นามะ สามะเณโร, อะยัญจะ โอภาโส นามะ สามะเณโร, มะมะ อุปะสัมปะทาเปกขา, อุปะสัมปะทัง อากังขะมานา, สังฆัง ยาจันติ, อะหัง สัพพะมิมัง สังฆัง อัชเณสามิ, สาธุ อาวุโส (ภันเต) สัพโพยัง สังโฆ, อิมัญจะ ปุณณัง นามะ สามะเณรัง, อิมัญจะ โอภาสัง นามะ สามะเณรัง, อันตะรายิเก ธัมเม ปุจฉิต๎วา, ตัตถะ ปัตตะกัลลัตตัง ญ๎ตวา, ญัตติจะตุตเถนะ กัมเมนะ อะกุปเปนะ ฐานาระเหนะ อุปะสัมปาเทมาติ, กัมมะสันนิฏฐานัง กะโรตุ.

      หมายเหตุ : บทว่า อาวุโส นั้น ถ้ามีพระภิกษุแก่พรรษากว่าอุปัชฌาย์ร่วมประชุมอยู่ด้วย พึงใช้ ภันเต แทน

คำสมมติและคำถามอันตรายิกธรรม
      สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ อะยัญจะ โอภาโส, อายัส๎มะโต กุสะละธัมมัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, อะหัง ปุณณัญจะ โอภาสัญจะ อันตะรายิเก ธัมเม ปุจเฉยยัง.

(แล้วสวดคำสอบถามอันตรายิกธรรมทีละรูป)

คำสวดกรรมวาจาอุปสมบท
      สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ, อะยัญจะ โอภาโส, อายัส๎มะโต กุสะละธัมมัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ปะริสุทธา อันตะรายิเกหิ ธัมเมหิ, ปะริปุณณะมิเมสัง ปัตตะจีวะรัง, ปุณโณ จะ โอภาโส จะ สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจันติ, อายัส๎มะตา กุสะละธัมเมนะ อุปัชฌาเยนะ, ยะทิ สังฆัสสะ ปัตตะกัลลัง, สังโฆ ปุณณัญจะ โอภาสัญจะ อุปะสัมปาเทยยะ, อายัส๎มะตา กุสะละธัมเมนะ อุปัชฌาเยนะ, เอสา ญัตติ.
      สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ อะยัญจะ โอภาโส, อายัส๎มะโต กุสะละธัมมัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ปะริสุทธา อันตะรายิเกหิ ธัมเมหิ, ปะริปุณณะมิเมสัง ปัตตะจีวะรัง, ปุณโณ จะ โอภาโส จะ สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจันติ, อายัส๎มะตา กุสะละธัมเมนะ อุปัชฌาเยนะ, สังโฆ ปุณณัญจะ โอภาสัญจะ อุปะสัมปาเทติ, อายัส๎มะตา กุสะละธัมเมนะ อุปัชฌาเยนะ, ยัสสายัส๎์มะโต ขะมะติ, ปุณณัสละ จะ โอภาสัสสะ จะ อุปะสัมปะทา, อายัส๎มะตา กุสะละธัมเมนะ อุปัชฌาเยนะ, โส ตุณ๎หัสสะ, ยัสสะ นะ ขะมะติ, โส ภาเสยยะ.
      ทุติยัมปิ เอตะมัตถัง วะทามิ, สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อะยัญจะ ปุณโณ, อะยัญจะ โอภาโส, อายัส๎มะโต กุสะละธัมมัสสะ อุปะสัมปะทาเปกขา, ฯเปฯ โส ภาเสยยะ.
      ตะติยัมปิ เอตะมัตถัง วะทามิ, สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, ฯเปฯ โส ภาเสยยะ.
      อุปะสัมปันนา สังเฆนะ, ปุณโฌ จะ โอภาโส จะ, อายัส๎มะตา กุสะละธัมเมนะ อุปัชฌาเยนะ, ขะมะติ สังฆัสสะ, ตัส๎มา ตุณ๎หี, เอวะเมตัง ธาระยามิ.

(ที่มีเครื่องหมาย ฯเปฯ ไว้นั้นให้สวดเต็มเหมือนอนุสาวนาที่ ๑)

 

คำบอกอนุศาสน์
(นิสัย ๔)

      อะนุญญาสิ โข ภะคะวา อุปะสัมปาเทต๎วา จัตตาโร นิสสะเย จัตตาริ จะ อะกะระณียานิ อาจิกขิตุง
      ๑. ปิณฑิยาโลปะโภชะนัง นิสสายะ ปัพพัชชา, ตัตถะ เต
(ถ้าหลายรูปเปลี่ยน เต เป็น โว) ยาวะชีวัง อุสสาโห กะระณีโย, อะติเรกะลาโภ, สังฆะภัตตัง อุเทสะภัตตัง นิมันตะนัง สะลากะภัตตัง ปักขิกัง อุโปสะถิกัง ปาฏิปะทิกัง.
      ๒. ปังสุกูละจีวะรัง นิสสายะ ปัพพัชชา, ตัตละ เต
(ถ้าหลายรูปเปลี่ยน เตป็น โว) ยาวะชีวัง อุสสาโห กะระณีโย, อะติเรกะลาโภ, โขมัง กัปปาสิกัง โกเสยยัง กัมพะลัง สาณัง ภังคัง.
      ๓. รุกขะมูละเสนาสะนัง นิสสายะ ปัพพัชชา, ตัตถะ เต
(ถ้าหลายรูปเปลี่ยน เต เป็น โว) ยาวะชีวัง อุสสาโห กะระณีโย, อะติเรกะลาโภ, วิหาโร อัฑฒะโยโค ปาสาโท หัมมิยัง คุหา.
      ๔. ปูติมุตตะเภสัชชัง นิสสายะ ปัพพัชชา, ตัตถะ เต
(ถ้าหลายรูปเปลี่ยน เต เป็น โว) ยาวะชีวัง อุสสาโห กะระณีโย, อะติเรกะลาโภ, สัปปิ นะวะนีตัง เตสัง มะธุ ผาณิตัง.

(อกรณียกิจ ๔)

      ๑. อุปะสัมปันเนนะ ภิกขุนา เมถุโน ธัมโม นะ ปะฏิเสวิตัพโพ อันตะมะโส ติรัจฉานะคะตายะปิ.
      โย ภิกขุ เมถุนัง ธัมมัง ปะฏิเสวะติ, อัสสะมะโณ โหติ อะลัก๎ยะปุตติโย.
      เสยยะถาปิ นามะ ปุริโส สีสัจฉินโน อะภัพโพ เตนะ สะรีระพันระเนนะ ชีวิตุง.
      เอวะเมวะ ภิกขุ เมอุนัง ธัมมัง ปะฏิเสวิต๎วา, อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโย.
      ตันเต
(ถ้าหลายรูปเปลี่ยน ตันเต เป็น ตัง โว) ยาวะชีวัง อะกะระณียัง.
      ๒. อุปะสัมปันเนนะ ภิกขุนา อะทินนัง เถยยะสังขาตัง นะ อาทาตัพพัง, อันตะมะโส ติณะสะลากัง อุปาทายะ.
      โย ภิกขุ ปาทัง วา ปาทาระหัง วา อะติเรกะปาทัง วา อะทินนัง เถยยะสังขาตัง อาทิยะติ. อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโย.
      เสยยะถาปิ นามะ ปัณฑุปะลาโส พันระนา ปะมุตโต อะภัพโพ หะริตัตตายะ.
      เอวะเมวะ ภิกขุ ปาทัง วา ปาทาระหัง วา อะติเรกะปาทัง วา อะทินนัง เถยยะสังขาตัง อาทิยิต๎วา อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโย.
      ตันเต
(ถ้าหลายรูปเปลี่ยน ตันเต เป็น ตัง โว) ยาวะชีวัง อะกะระณียัง.
      ๓. อุปะสัมปันเนนะ ภิกขุนา สัญจิจจะ ปาโณ ชีวิตา นะ โวโรเปตัพโพ อันตะมะโส กุนถะกิปิลลิกัง อุปาทายะ.
      โย ภิกขุ สัญจิจจะ มะนุสสะวิคคะหัง ชีวิตา โวโรเปติ, อันตะมะโส คัพภะปาตะนัง อุปาทายะ, อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโย.
      เสยยะถาปิ นามะ ปุถุสิลา ท๎วิธา ภินนา อัปปะฏิสันธิกา โหติ.
      เอวะเมวะ ภิกขุ สัญจิจจะ มะมุสสะวิคคะหัง ชีวิตา โวโรเปต๎วา, อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโย.
      ตันเต
(ถ้าหลายรูปเปลี่ยน ตันเต เป็น ตัง โว) ยาวะชีวัง อะกะระณียัง.
      ๔. อุปะสัมปันเนนะ ภิกขุนา อุตตะริมะนุสสะธัมโม นะ อุลละปิตัพโพ อันตะมะโส สุญญาคาเร อะภิระมามีติ.
      โย ภิกขุ ปาปิจโฉ อิจฉาปะกะโต อะสันตัง อะภูตัง อุตตะริมะมุสสะธัมมัง อุสละปะติ, ฌานัง วา วิโมกขัง วา สะมาธิง วา สะมาปัตติง วา มัคคัง วา ผะลัง วา, อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโย.
      เสยยะถาปิ นามะ ตาโล มัตถะกัจฉินโน อะภัพโพ ปุนะ วิรุฬ๎หิยา,
      เอวะเมวะ ภิกขุ ปาปิจโฉ อิจฉาปะกะโต อะสันตัง อะภูตัง อุตตะริมะนุสสะธัมมัง อุลละปิต๎วา อัสสะมะโณ โหติ อะสัก๎ยะปุตติโย.
      ตันเต
(ถ้าหลายรูปเปลี่ยน ตันเต เป็น ตัง โว) ยาวะชีวัง อะกะระณียันติ.
      อะเนกะปะริยาเยนะ โข ปะนะ เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ, สีลัง สัมมะทักขาตัง สะมาธิ สัมมะทักขาโต ปัญญา สัมมะทักขาตา.
      ยาวะเทวะ ตัสสะ มะทะนิมมะทะนัสสะ ปิปาสะวินะยัสสะ อาละยะสะมุคฆาตัสสะ วัฏฏูปัจเฉทัสสะ ตัณหักขะยัสสะ วิราคัสสะ นิโรธัสสะ นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ.
      ตัตถะ สีละปะริภาวิโต สะมาธิ มะหัปผะโล โหติ มะหานิสังโส
      สะมาธิปะริภารตา ปญญา มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา
      ปัญญาปะริภารตัง จิตตัง สัมมะเทวะ อาสะเวหิ วิมุจจะติ เสยยะถีทัง.
      กามาสะวา ภะวาสะวา อะวิชชาสะวา.
      ตัส๎มาติหะ เต
(ถ้าหลายรูปเปลี่ยน เต เป็น โว) อมัส๎มิง ตะลาคะตัปปะเวทิเต ธัมมะวินะเย, สักกัจจัง อะธิสีสะสิกขา สิกขิตัพพา, อะธิจิตตะสิกขา สิกขิตัพพา, อะธิปัญญาสิกขา สิกขิตัพพา.
      ตัตถะ อัปปะมาเทนะ สัมปาเหตัพพัง.

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล Total Execution Time: 0.023361698786418 Mins