บุพพกิจแห่งพิธีสวดพุทธมนต์ เจ้าของงานต้องจัดตั้งที่บูชา แล้วอาราธนาพระพุทธรูปขึ้นประดิษฐานเหนือเครื่องสักการะ มีหม้อน้ำมนต์
...อ่านต่อ
การลาสิกขา ตามประเพณีโบราณถือว่าเป็นกิจสำคัญ ภิกษุผู้จะลาสิกขาจะต้องหาฤกษ์งามยามดี
...อ่านต่อ
ผ้ากฐินใครถวายจังจะใช้ได้ อันผู้ใดผู้หนึ่งเป็นคฤหัสถ์ก็ตาม เป็นสหธรรมิกด้วยกันก็ตาม ถวายแล้วแก่สงฆ์ เป็นของใช้ได้
...อ่านต่อ
ภิกษุเข้าปุริมพรรษา ถึงวันเพ็ญแห่งเดือน ๑๑ เต็ม ๓ เดือน มีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาถ้วนไตรมาส
...อ่านต่อ
คือเมื่อสวดนิทานุทเทสจบแล้ว พึงบอกย่อตั้งแต่ปาราชิกุทเทสไปซึ่งเคยได้ฟังมาแต่ก่อนแล้ว ดังนี้ว่า
...อ่านต่อ
ปุพฺพกิจฺจํ กาตพฺพํ โหติ ตณฺฐานสมฺมชฺชนญฺจ ตตฺถ ปทีปุชฺชลนญฺจ อาสนปญฺณปนญฺจ ปานียปริโภชนียูปฏฺฐปนญฺจ
...อ่านต่อ
การทำอุโบสถเป็นสังฆกรรมอันสำคัญอย่างหนึ่ง ภิกษุทุกรูปต้องกระทำทุกกึ่งเดือน ถ้าใครละเลยเสียก็ต้องทุกกฏาบัติ และการกระทำนั้น
...อ่านต่อ
การตั้งนามฉายาอุปสัมปทาเปกข์ผู้เกิดวันเสาร์นั้น นิยมใช้อักษรนามฉายาขึ้นต้นด้วยอักษรที่เป็นบริวาร ได้แก่ อักษร ต วรรค
...อ่านต่อ
การตั้งนามฉายาอุปสัมปทาเปกข์ผู้เกิดวันศุกร์นั้น นิยมใช้อักษรนามฉายาขึ้นต้นด้วยอักษรที่เป็นบริวาร ได้แก่ อักษร ๓ ตัว คือ ส, ห, ฬ
...อ่านต่อ
การตั้งนามฉายาอุปสัมปทาเปกข์ผู้เกิดวันพฤหัสบดีนั้น นิยมใช้อักษรนามฉายาขึ้นต้นด้วยอักษรที่เป็นบริวาร
...อ่านต่อ
การตั้งนามฉายาอุปสัมปทาเปกข์ผู้เกิดวันพุธ (กลางคืน) นั้น นิยมใช้อักษรนามฉายาขึ้นต้นด้วยอักษรที่เป็นบริวาร
...อ่านต่อ
การตั้งนามฉายาอุปสัมปทาเปกข์ผู้เกิดวันพุธ (กลางวัน) นั้น นิยมใช้อักษรนามฉายาขึ้นต้นด้วยอักษรที่เป็นบริวาร ได้แก่ อักษร ฎ วรรค ๕ ตัว คือ ฏ, ฐ, ฑ, ณ
...อ่านต่อ
การตั้งนามฉายาอุปสัมปทาเปกข์ผู้เกิดวันอังคารนั้น นิยมใช้อักษรนามฉายาขึ้นต้นด้วยอักษรที่เป็นบริวาร ได้แก่ อักษรจ วรรค ๕ ตัว คือ จ, ฉ, ซ, ณ, ญ
...อ่านต่อ
การตั้งนามฉายาอุปสัมปทาเปกข์ผู้เกิดวันจันทร์นั้น นิยมใช้อักษรฉายาขึ้นต้นด้วยอักษรที่เป็นบริวาร ได้แก่ อักษร ก วรรค ๕ ตัว คือ
...อ่านต่อ
การตั้งนามฉายาอุปสัมปทาเปกข์ ผู้เกิดวันอาทิตย์นั้น นิยมใช้อักษรนามฉายาขึ้นต้นด้วยอักษรที่เป็นบริวาร ได้แก่ สระ ๘ ตัว
...อ่านต่อ
วิธีนับเด็กเกิดวันใด ให้นับวันนั้นเป็นบริวารเป็นต้นไป เช่นเกิด วันอาทิตย์นับดังนี้ บริวาร (๑) อายุ (๒) เดช (๓) ศรี (๔) มูละ
...อ่านต่อ
พระอุปัชฌายะควรดูเรื่องเหล่านี้ประกอบด้วย คือ พระมหาสมณาณัติ กำหนดเขตอุปัชฌายะ
...อ่านต่อ
เมื่อจะขอขมา พึงนำเครื่องสักการะมีดอกไม้ธูปเทียนเป็นต้น วางไว้ข้างหน้าแล้วกราบลง ๓ หน พึงนั่งคุกข้าประนมมือกล่าวว่า
...อ่านต่อ
อุปัชฌายวัตร คือหน้าที่ที่สัทธิวิหาริกจะพึงทำแก่อุปัชฌายะ , สัทธิวิหาริกวัตร คือหน้าที่อันอุปัชฌายะจะพึงทำแก่สัทธิวิหาริก
...อ่านต่อ
ภิกษุผู้พึ่งอุปัชฌาย์ ได้ชื่อว่า สัทธิวิหาริก แปลว่า ผู้อยู่ด้วย ภิกษุผู้อาศัยอาจารย์ ได้ชื่อว่า อันเตวาสิก แปลว่า ผู้อยู่ในสำนัก ฯ
...อ่านต่อ
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตไว้แล้วเมื่ออุปสมบทแล้ว บอกนิสัย ๔ และอกรณียะ ๔ ว่า
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล