ในข้างต้นเกี่ยวกับการลดจำนวนของพระภิกษุและสามเณรดังที่ ผศ.ดร. ชาญณรงค์ บุญหนุน ได้สรุปออกมา ๒ สาเหตุคือ
...อ่านต่อ
พระพุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองในประเทศไทยมาช้านาน ดังจะเห็นได้จากการมีศาสนทายาท อันได้แก่ พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา
...อ่านต่อ
พระสัทธรรมนั้น ธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ ดวงใสบริสุทธิ์เท่าฟองไข่แดงของไข่ไก่ เวลานี้อยู่กลางกายมนุษย์ ธรรมดวงนั้นแหละ
...อ่านต่อ
 บุคคลใดก็ตาม ที่มีศรัทธามั่นในคุณของพระธรรมดังกล่าวแล้ว และได้ปฏิบัติตนดังที่พรรณนามาทั้งหมดนี้ ย่อมชื่อว่า
...อ่านต่อ
๑. ความตระหนักในคุณของพระธรรมด้วยศรัทธามั่นว่าพระธรรมคำสั่งสอนหรือ “ศาสนธรรม” ทั้งปวงของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าล้วนมีฐานมาจากธรรมชาติอันบริสุทธิ์ที่เรียกว่า1
...อ่านต่อ
มีเรื่องเกี่ยวกับธรรมเนียมการเคารพพระธรรมในสมัยพุทธกาลปรากฏอยู่ในชาดก ซึ่งจะขอยกมาเป็นตัวอย่าง ๒ เรื่อง ดังนี้
...อ่านต่อ
ฏิบัติสัทธรรมตลอดชีวิต หมายความว่า ต้องปฏิบัติสัทธรรมเป็นกิจวัตรประจำวัน เช่นเดียวกับการอาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาดและการรับประทานอาหารของเรา
...อ่านต่อ
 พระธรรมในบริบทนี้ หมายรวมทั้งโลกุตตรธรรมและศาสนธรรม ซึ่งการปฏิบัติของบุคคลที่แสดงว่ามีความเคารพในพระธรรมควรมีทัศนคติและการปฏิบัติอย่างน้อย
...อ่านต่อ
ทรงบัญญัติพระวินัยเพราะความเคารพธรรมครั้งหนึ่ง ท่านพระอุบาลี พระอรหันตสาวกองค์หนึ่ง ซึ่งพระพุทธองค์ทรงยกย่องว่า
...อ่านต่อ
  ตามที่ได้กล่าวแล้วว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมีความเคารพในธรรมที่ตรัสรู้ได้โดยพระองค์เอง ซึ่งสรุปโดยย่อ
...อ่านต่อ
  สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี พระองค์ได้ทรงตรัสแก่พระภิกษุทั้งหลายว่า เมื่อแรกตรัสรู้ ขณะหลีกเร้นอยู่ในที่สงัด ได้เกิดความรำพึงว่า
...อ่านต่อ
   อริยสัจ ๔ นี้เป็นทั้ง โลกุตตรธรรม และ ศาสนธรรมที่กล่าวว่า อริยสัจ ๔ เป็นโลกุตตรธรรม เพราะเป็นความจริงอันประเสริฐสูงสุด ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
...อ่านต่อ
วัตถุประสงค์ของการเคารพพระธรรมนั้นมีอยู่หลายประการซึ่งเราพอสรุปได้โดยสังเขป ดังต่อไปนี้
...อ่านต่อ
 ๑. ภาคทฤษฎี มีคำศัพท์ทางศาสนาว่า ปริยัติสัทธรรม ได้แก่ศาสนธรรม จำนวน ๘๔,๐๐๐
...อ่านต่อ
ธรรม ทั้ง ๒ นัย คือ โลกุตตรธรรมและศาสนธรรม มีคุณสมบัติและคุณประโยชน์อันวิเศษที่เรียกว่า พระธรรมคุณ ดังนี้ 
...อ่านต่อ
 ศาสนธรรม คือ คำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยที่พระพุทธองค์ทรงนำเอาโลกุตตรธรรม ที่พระองค์ทรงเข้าถึงมาเทศนาสั่งสอนเวไนยสัตว์ในแง่มุมต่างๆ
...อ่านต่อ
ในพระพุทธศาสนาแบ่งความรู้ความเข้าใจ หรือเรียกว่าปัญญา ออกเป็น ๓ ระดับ คือ
...อ่านต่อ
 เมื่อกล่าวถึงลักษณะและอานุภาพของ ธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในนัยที่ ๑ คือ โลกุตตรธรรม หรือ ปรมัตถสัจจะ ที่ได้กล่าวไว้แล้วในข้างต้น
...อ่านต่อ
คำว่า ธรรม เป็นคำที่มีมาก่อนการเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนากล่าวคือ เป็นคำที่มีมาตั้งแต่ยุคพระเวท ปรากฏในคัมภีร์ที่เก่าแก่
...อ่านต่อ
ด้านสุขภาพจิตส่งเสริมให้คุณภาพของใจดีขึ้น คือ ทำให้จิตใจผ่องใสสะอาด บริสุทธิ์ สงบ เยือกเย็น ปลอดโปร่ง
...อ่านต่อ
  สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล