หลวงพ่อจะเล่าให้ฟัง วันหนึ่งหลวงพ่อได้ถามเรื่องตัดสินใจจากคุณยายอาจารย์ (อุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง) “ยาย เวลายายจะทำอะไรหรือไม่ทำอะไรนี่ ยายเอาอะไรมาเป็นเครื่องตัดสิน” “เวลายายตัดสินยายถือหลักง่าย ๆ   จะทำอะไรนี่ยายจะตามใจพระพุทธเจ้าทุกอย่างเลย อะไรที่ขัดใจพระพุทธเจ้า หรือไม่ตรงกับที่พระพุทธเจ้าพูดเอาไว้ยายไม่ทําหรอก”
...อ่านต่อ
คนมาวัดถ้าเป็นประเภทที่เอาบุญเป็นหลักใหญ่ อีกพวกหนึ่งเอากรรมเป็นตัวตัดสิน อีกพวกหนึ่งเอาอนัตตามาตัดสิน
...อ่านต่อ
สัปปุริสธรรม ๗ ประการ ได้แก่ รู้จักเหตุ รู้จักผล รู้จักตน รู้จักประมาณ รู้จักกาล รู้จักชุมชน รู้จักบุคคล
...อ่านต่อ
มรรค แปลว่า หนทาง ในที่นี้ มรรคมีองค์ ๘ หมายถึง “ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์”
...อ่านต่อ
 สังคมโลกทุกวันนี้เป็นสังคมกว้างขวาง สิ่งที่เราทำทั้งๆ ที่เป็นสิ่งดีแต่บางทีกฎหมายไม่เอื้ออำนวย ขนบธรรมเนียมประเพณีไม่เอื้ออำนวย ดังนั้นการจะทำอะไรเกี่ยวกับมหาชนจึงมีเรื่องที่จะต้องคิดต้องระมัดระวังอีกเยอะ
...อ่านต่อ
 ใน กรณีที่บางเรื่องใช้หลักเกณฑ์ข้างต้นมาตัดสินแล้วยังตัดสินไม่ลง เราอาจใช้กฎเกณฑ์เพิ่มขึ้นมาอีกข้อหนึ่ง คือ ตัดสินจากกุศลมูลและอกุศลมูล โดยพิจารณาว่า “ถ้าจะทำสิ่งใดด้วยความโลภก็ดี ด้วยความโกรธก็ดี ด้วยความหลงก็ดี สิ่งนั้นเป็นความชั่วอย่าไปทำ แต่ถ้าจะทำสิ่งใดด้วยความไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง อย่างนั้นเป็นเรื่องดี สมควรทำอย่างยิ่ง”
...อ่านต่อ
แม่บทในการตัดสินใจอีกอย่างหนึ่ง   ใช้ผลลัพธ์เหมือนกัน  แต่มองตรงประโยชน์ที่จะพึงได้ คือ ให้พิจารณาว่า หากทำอะไรแล้วได้ทั้งประโยชน์ตนและประโยชน์ท่าน รีบมาเถอะ แต่ถ้าได้ประโยชน์ตนเสียประโยชน์ท่านหรือส่วนรวมจะต้องคิดให้มาก หรือได้ประโยชน์ส่วนรวมแต่ประโยชน์ส่วนตนเสีย ก็ต้องคิดให้มากเหมือนกัน ปรับปรุงให้ดี มองแล้วมองอีกทีเดียว ถ้าประโยชน์ตนก็เสียประโยชน์ส่วนรวมก็เสีย พูดได้เต็มปากเลยว่า “ชั่ว” อย่าทำ
...อ่านต่อ
“ถ้าทําสิ่งใดแล้วไม่ต้องร้อนใจในภายหลัง ให้ทำเถิด เพราะเป็นความดีแต่ถ้าทําสิ่งใดแล้วต้องร้อนใจในภายหลัง ก็อย่าทำ เพราะเป็นความชั่ว”
...อ่านต่อ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงสอนเรื่องแม่บทในการตัดสินความดีและความชั่วเอาไว้  ทั้งสอนเด็ก สอนผู้ใหญ่ และสอนนักบวช แต่ว่าทรงสอนหรือให้กฎเกณฑ์ไว้ไม่เหมือนกัน แต่ก็เป็นไปในแนวทางเดียวกัน เพียงแต่ว่าแตกต่างกันในระดับความลึกตื้น ซึ่งขึ้นอยู่กับสติปัญญาของผู้ถาม รวมทั้งสภาพแวดล้อมในขณะนั้น
...อ่านต่อ
เมื่อเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นกับตัวเองหรือหมู่คณะก็ตามสิ่งแรกเลย หลวงพ่ออยากให้พวกเราตัดสินลงไปให้ได้เสียก่อนว่า สิ่งนั้นเป็นความดี หรือความชั่ว หรือกลาง ๆ ต้องตัดสินตรงนี้ให้ได้ก่อน ซึ่งบางครั้งก็ตัดสินลง บางครั้งก็ตัดสินไม่ลง ก็ไม่เป็นไร ถ้าตัดสินใจไม่ลง ค่อยเอากฎเกณฑ์อื่นเข้ามาช่วยตัดสิน
...อ่านต่อ
หลักในการตัดสินใจของเขาก็คือ “แล้วแต่พี่ ๆ จะสั่งมา ถ้าพี่ๆ ว่าอย่างไรก็ทำอย่างนั้นแหละ” ไหนๆ เราก็ยกให้เขาเป็นพี่แล้ว ก็เลยต้องมีหน้าที่ตัดสินใจให้น้องๆนี่พวกหนึ่ง
...อ่านต่อ
การที่ใครคนใดคนหนึ่งจะตัดสินใจทำหรือไม่ทำอะไรนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ๆ
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล