จักขุธาตุ เป็นธาตุแท้อันที่ 1 ที่มีหน้าที่รับสี องค์ธรรมได้แก่ จักขุปสาท คือ ประสาทตามีสัณฐานใสขนาดเท่าศีรษะเล็น ตั้งอยู่ใจกลางตาสามารถรับสีต่างๆ ได้ เมื่อแสงสว่างสะท้อนจากสีส่งมากระทบทำให้สำเร็จการเห็นได้ จักขุธาตุนี้เป็นรูปธรรมมีสภาพแตกสลายอยู่เสมอ ประสาทตาที่ดีใช้ประกอบการเห็น รูปภาพสีต่างๆ ได้อยู่นี้ เพราะอาศัยสันตติของจักขุประสาทซึ่งเกิดดับติดต่อกันไม่ขาดสายเพราะกรรมยังไม่สิ้น
...อ่านต่อ
รูปธาตุ มีหน้าที่กระทบตา องค์ธรรมได้แก่ รูปารมณ์ คือ รูปภาพหรือสีต่างๆ ที่อาศัยแสงสว่างแล้วสะท้อนไปกระทบประสาทตา มีลักษณะที่หนาทึบด้วยเม็ดปรมาณูของมหาภูตรูป (ดิน น้ำ ไฟ ลม)
...อ่านต่อ
เมื่อจัดธาตุทั้ง 18 แบ่งเป็นพวกใหญ่ๆ ตามลักษณะอาการ แบ่งออกเป็น 3 พวก คือ 1.ธาตุกระทบ 6 ธาตุ 2.ธาตุรับ 6 ธาตุ 3.ธาตุรู้ 6 ธาตุ
...อ่านต่อ
ธาตุทั้ง 18 นี้เมื่อจำแนกเข้าในชุดเดียวกัน ทำหน้าที่ด้วยกัน จำแนกออกเป็น 6 หมวด คือ 1.จักขุธาตุ รูปธาตุ จักขุวิญญาณธาตุ 2.โสตธาตุ สัททธาตุ โสตวิญญาณธาตุ
...อ่านต่อ
ธาตุ แบ่งออกเป็น 18 ประการ มีชื่อเรียกดังต่อไปนี้3) 1.จักขุธาตุ : จักขุ ชื่อว่า ธาตุ เพราะทรงไว้ซึ่งความใสที่รูปารมณ์มากระทบได้ องค์ธรรมได้แก่ จักขุปสาท 2.โสตธาตุ : โสตะ ชื่อว่า ธาตุ เพราะทรงไว้ซึ่งความใสที่สัททารมณ์มากระทบได้ องค์ธรรมได้แก่ โสตปสาท 3.ฆานธาตุ : ฆานะ ชื่อว่า ธาตุ เพราะทรงไว้ซึ่งความใสที่คันธารมณ์มากระทบได้ องค์ธรรมได้แก่ ฆานปสาท 4.ชิวหาธาตุ : ชิวหา ชื่อว่า ธาตุ เพราะทรงไว้ซึ่งความใสที่รสารมณ์มากระทบได้ องค์ธรรมได้แก่ ชิวหาปสาท
...อ่านต่อ
ธาตุ หมายถึง สิ่งที่ทรงสภาวะของตนอยู่เอง คือ มีอยู่โดยธรรมดา เป็นไปตามเหตุปัจจัยไม่มีผู้สร้าง ไม่มีอัตตา มิใช่สัตว์ มิใช่ชีวะ
...อ่านต่อ
ความหมายและอายตนะแบบต่างๆ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนีได้ให้ความหมายของคำว่า อายตนะ ไว้ว่า หมายถึงดึงดูด หรือบ่อเกิด ท่านกล่าวว่า “ บ่อเกิดของตาดึงดูดรูป บ่อเกิดของหูดึงดูดเสียง บ่อเกิดของจมูกดึงดูดกลิ่น บ่อเกิดของลิ้นดึงดูดรส บ่อเกิดของกายดึงดูดสัมผัส บ่อเกิดของใจดึงดูดธรรมารมณ์”8)
...อ่านต่อ
อายตนะ ทำให้เกิดความรู้ซึ่งเกิดจากการเชื่อมต่อระหว่างอายตนะภายนอกกับอายตนะภายใน เมื่ออายตนะภายในซึ่งเป็นแดนรับรู้กระทบกับอารมณ์ คืออายตนะภายนอก ซึ่งเป็นสิ่งที่ถูกรู้ ก็จะเกิดความรู้จำเพาะด้านของอายตนะแต่ละอย่างๆ ขึ้น เช่น ตากระทบรูป เกิดความรู้
...อ่านต่อ
พาหิรายตนะ คือ แดนติดต่อภายนอก มีอยู่ 6 ได้แก่ 1.แดนติดต่อคือ รูป (รูปายตนะ) รูป ได้แก่ สิ่งที่เห็นได้ด้วยตาประกอบ หมายถึง เปิดเผยให้รู้ถึงความรู้ลึกที่มีอยู่ในใจ เปิดเผยให้รู้ถึงความคิด หรือมีความหมายว่า ผันแปร แตกสลาย หมายถึง ไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน เกิดแล้วก็ดับไปตามเหตุปัจจัย
...อ่านต่อ
1.ประสาทตา มีดวงตาเป็นโครงสร้างใหญ่ ที่เปลือกตามีขนเล็กสีดำ (ขนตา) ส่วนดวงตาประกอบด้วยตาดำตาขาวลักษณะคล้ายกลีบอุบลเขียว ประสาทตาอยู่ตรงกลางตาดำ ซึ่งแวดล้อมด้วยตาขาว ซึมซาบเยื่อตา 7 ชั้น เหมือนน้ำมันซึมซาบสำลี 7 ชั้น ธาตุ 4 เกื้อหนุน
...อ่านต่อ
อายตนะภายใน (อัชฌัตติกายตนะ)6) 1.จักขายตนะ หมายถึง แดนติดต่อคือ ตา ตา หมายถึง ประสาทที่รับรูปต่างๆ ได้ อยู่ในลูกนัยน์ตา บางทีเรียกว่า จักขุประสาท
...อ่านต่อ
อายตนะ5) นั้นมี 12 คือ จักขายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ มนายตนะ รูปายตนะ สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ
...อ่านต่อ
อายตนะ 12 ชื่อว่า อายตนะเพราะสืบต่อ สืบต่อแห่งการมา หรือเพราะนำไปซึ่งการสืบต่อ ในเรื่องนี้พระอรรถกถาจารย์ได้อธิบายเพิ่มเติมไว้ว่า จริงอยู่ ธรรม คือจิตและเจตสิก ในบรรดาจักขุและรูป เป็นต้น เป็นทวารและอารมณ์นั้นๆ ย่อมมา ย่อมตั้งขึ้น ย่อมสืบต่อ คือย่อมพยายามโดยกิจของตนๆ มี
...อ่านต่อ
อายตนะ มีความหมาย 3 นัย คือ 1.อายตนะ หมายความว่า ธรรมที่มีสภาพคล้ายกับว่ามีความพยายามเพื่อยังผลของตนให้เกิดขึ้น เช่น จักขายตนะกับรูป เป็นเหตุให้การเห็นเกิดขึ้น การเห็นจัดเป็นผล เป็นต้น 2.อายตนะ หมายความว่า ธรรมที่ทำซึ่งจิตและเจตสิกให้กว้างขวางเจริญขึ้น 3.อายตนะ1) หมายถึง อวัยวะที่ต่อระหว่างจิตกับอารมณ์
...อ่านต่อ
นักศึกษาจะเห็นได้จากพระธรรมเทศนาของพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ที่กล่าวว่า ขันธ์ 5 เป็นของหนัก หากเข้าไปยึดมั่นถือมั่นก็จะต้องเป็นทุกข์ ดังนั้นนักศึกษาจึงควรศึกษาวิธีการที่จะปล่อยวางขันธ์ 5 เหล่านี้ ซึ่งมีแนวทางดังนี้
...อ่านต่อ
คนเราเกิดมามีลักษณะรูปร่างหน้าตา ความคิด ความรู้ ความเข้าใจสิ่งต่างๆ ไม่เท่ากัน ทั้งที่เราทุกคนต่างก็มีขันธ์ 5 ซึ่งเป็นส่วนที่เราทุกคนต่างก็ได้องค์ประกอบที่เท่ากัน ทั้งนี้เพราะว่า ขันธ์ 5 ในแต่ละคนมีความบริสุทธิ์ไม่เท่ากัน ทำให้มีรูปธรรมและนามธรรมมีความหยาบความละเอียดต่างกัน
...อ่านต่อ
พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ได้กล่าวถึงการเห็นขันธ์ 5 ด้วยธรรมจักขุของพระธรรมกาย ซึ่งเป็นการเห็นอย่างแท้จริงไว้ว่า ทำให้เห็นลักษณะของขันธ์ 5 ที่มี การเกิดดับตลอดเวลา เมื่อเห็นเช่นนี้จึงทำให้รู้ว่า ขันธ์ 5 ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ดังนี้
...อ่านต่อ
พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ได้กล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ยังหลงติดอยู่ในขันธ์เหล่านั้นว่า “ อวิชชาที่แปลว่า ไม่รู้ คือ ไม่รู้ถูกหรือผิด เพราะว่าเข้าไปยึดมั่นในขันธ์ 5 ว่าเป็นตัว เป็นตน จึงมืดมน ไม่รู้ไม่เห็นของจริงคือ นิพพาน
...อ่านต่อ
พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนีได้อธิบายถึงขันธ์ 5 ในแต่ละภพภูมิ ว่ามีความแตก-ต่างกัน คือ “ ขันธ์ 5 ของอรูปพรหมจะเอาไปใช้ในกายรูปพรหม กายทิพย์ กายมนุษย์ แต่ขันธ์ใดขันธ์หนึ่งก็ไม่ได้ ขันธ์ของภพไหนต้องอยู่ประจำภพนั้น ข้ามภพใช้ไม่ได้ เพราะอะไร
...อ่านต่อ
ท่านได้อธิบายเรื่องขันธ์ 5 ไว้ดังนี้ คือ ไม่ว่าจะเป็นขันธ์ 5 ของมนุษย์ เทวดา หรือสัตว์เดรัจฉาน ถ้าเข้าไปถือไว้ก็เป็นภาระหนัก ก่อให้เกิดความทุกข์ และท่านก็ได้แนะนำวิธีการปล่อยวางขันธ์ 5 ดังพระธรรมเทศนาต่อไปนี้ “ เราท่านทั้งหลาย เกิดมาหญิงชายทุกคนถ้วนหน้า ล้วนแต่แบกภาระขันธ์ 5 ด้วยกันทั้งนั้น ขันธ์ 5 เป็นของหนัก ไม่ใช่ของเบา หนักอย่างไร หนักตั้งแต่อุบัติ ตั้งแต่อยู่ในท้อง ตั้งแต่เกิดในท้องมารดาหนักเรื่อยมา นั่นบังคับให้มารดาผู้ทรงครรภ์นั้นหนักแล้ว ตัวเองก็หนัก ไปไหน ไม่ค่อยไหว ติดอยู่ในอู่มดลูกนั่นเอง เจริญวัยวัฒนาเป็นลำดับๆ ไป
...อ่านต่อ
ขันธ์ 5 เมื่อจัดแบ่งเป็นประเภท สามารถแยกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.ขันธ์ 5 ที่ประกอบด้วยอุปาทาน อุปาทานนี้ เป็นเหตุที่ทำให้เกิดความทุกข์แท้จริง เป็นทุกข์ที่ทำให้ต้องเวียนว่าย ตายเกิดในวัฏสงสาร ซึ่งเรียกว่า อุปาทานขันธ์ เป็นขันธ์ของปุถุชน หรือแม้แต่พระอริยเจ้าที่ยังไม่หมดกิเลสทั้งหมด ก็ยังมีอุปาทานขันธ์นี้อยู่ แต่เบาบางมาก
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล