เมื่อนำวิธีการตีความตามหลักเทศนาหาระเข้าไปจับคู่กับพระพุทธพจน์แล้วย่อมมองเห็นได้ว่าพระพุทธพจน์ทั้งหมดแสดงความเป็นเทสนาหาระ ๖ ประการ
...อ่านต่อ
ดังแสดงมาแล้วว่าการตีความพระพุทธพจน์นั้นเหล่าบุรพาจารย์ ท่านได้ทำสืบเนื่องกันมาแต่ครั้งพุทธกาลแล้ว ด้วยเหตุผลว่าเพื่ออธิบายขยายความพระพุทธพจน์ให้ปรากฏชัดเจน เป็นที่เข้าใจง่ายสำหรับผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนทั้งหลาย ด้วยว่าพระพุทธพจน์นั้นมีความสุขุมลุ่มลึก ละเอียด
...อ่านต่อ
ได้กล่าวมาแล้วว่าการตีความพระพุทธพจน์หรือพุทธศาสนสุภาษิตเพื่อการเทศนานั้นจะยึดแนวการตีความที่ท่านแสดงไว้ใน เนตติปกรณ์ โดยเลือกเฉพาะส่วนที่แสดงไว้ในเทสนาหาระเท่านั้น
...อ่านต่อ
การตีความที่แสดงมาข้างต้นนั้นเป็นการตีความแบบทั่วไปมีหลักคือมีแบบมีแนวทางบ้าง ไม่มีหลักคือว่าไปตามอัตโนมัติบ้างแต่เพื่อให้ผู้ศึกษาเรียนรู้เรื่องการตีความได้มีแนวสำหรับเป็นหลักยึดเพื่อประโยชน์แก่การตีความไว้บ้าง
...อ่านต่อ
การตีความพุทธศาสนสุภาษิตเท่าที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ต่างๆซึ่งพระบุรพาจารย์ได้แสดงไว้มีหลายรูปแบบ มีทั้งแบบสั้นพอให้เข้าใจความได้ มีทั้งแบบยาวซึ่งขยายความออกไปโดยพิสดารครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด ซึ่งแต่ละรูปแบบที่อยู่ในขอบเขตแห่งการตีความทั้งสิ้น แต่เมื่อจะประมวลกล่าวถึงรูปแบบแห่งการตีความพุทธศาสนสุภาษิตทั่วไปอาจได้เป็น ๔ รูปแบบ คือ
...อ่านต่อ
โดยปกติการตีความที่ปรากฏอยู่ทั่วไปมีหลากหลายรูปแบบหลากหลายแนว แล้วแต่ความถนัดและความประสงค์ของผู้ตีความใครถนัดชำนาญอย่างใดก็ดีความไปตามที่ตนถนัดชำนาญ หรือตนประสงค์จะอธิบายในแง่ใดมุมใด ก็ตีความไปในแง่นั้นมุมนั้น จึงทำให้แนวการตีความมีมากจนยากที่จะกำหนดได้ แม้การตีความพุทธศาสนาสุภาษิตที่ปรากฏตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันก็มีหลายรูปหลายแนว แต่ก็พอกำหนดจับหลักสำหรับศึกษาแนวการตีความของท่านได้เป็น ๕ แนวด้วยกัน คือ
...อ่านต่อ
ได้กล่าวมาแล้วว่าการตีความพุทธศาสนสุภาษิตโดยเฉพาะการตีความพระพุทธพจน์มีความเสี่ยงต่อการเข้าถึงอบายไม่น้อยหากไม่รอบคอบ ตีความด้วยขาดสติหรือด้วยความมีอคติ
...อ่านต่อ
เมื่อจะกล่าวในเชิงวิชาการ เนื่องจากการตีความเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ดังกล่าวแล้ว การตีความจึงย่อมมีความสำคัญ มีคุณค่าควรแก่การศึกษาเรียนรู้ ทั้งผู้ศึกษาเรียนรู้เองก็พึงมีจุดยืนหรือวัตถุประสงค์ในการศึกษาเรียนรู้ของตนว่าจะศึกษาเรียนรู้ไปทำไมศึกษาเรียนรู้ไปแล้วจะได้อะไรบ้าง เป็นต้น
...อ่านต่อ
การเทศน์เป็นการเผยแผ่ศาสนาที่สำคัญและศักดิ์สิทธิ์กว่าวิธีการอื่น เพราะเป็นวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกใช้ในการสั่งสอนผู้คนอันเป็นการเผยแผ่ธรรม และทรงปฏิบัติเช่นนี้ด้วยพระองค์เองมาโดยตลอดจนถึงเสด็จดับขันธปรินิพพาน
...อ่านต่อ
สำหรับการตีความพุทธศาสนสุภาษิตโดยเฉพาะสุภาษิตที่เป็น พระพุทธพจน์คือที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ย่อมมีความเสี่ยงอย่างสูงยิ่งเพราะเป็นการอาจเอื้อมก้าวล่วงไปถึงพระปัญญาระดับพระโพธิญาณ
...อ่านต่อ
คำว่า “ตีความ” อาจมีความหมายหลายอย่างและอาจอธิบายได้หลายแบบ แต่เพื่อความเข้าใจตรงกันในทางวิชาการและในการให้ความหมายเพื่อสื่อให้เห็นภาพในฐานะเป็นหัวข้อของเรื่องนี้
...อ่านต่อ
แม้ว่าการตีความจะเสี่ยงต่อความผิดพลาด เสี่ยงต่อความเข้าใจผิด หรือเสี่ยงต่อการถูกกล่าวหาว่าบิดเบือนคำสอนอยู่ไม่น้อยการตีความก็ยังมีความจำเป็นไม่น้อยเช่นกัน เพราะได้กล่าวมาแล้วว่าคำสอนในทางศาสนานั้นผ่านกาลเวลามานานแล้ว ภาษาที่ท่านใช้เป็นภาษาเก่าไปแล้ว เดิมที่ผู้คนสามารถเข้าใจได้ทันที
...อ่านต่อ
  พระพุทธศาสนาได้อุบัติขึ้นในโลกกว่า ๒,๕๐๐ ปีมาแล้วคำสอนในทางศาสนาซึ่งพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ได้มีการรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่หลังจากพระองค์เสด็จปรินิพพานแล้วไม่กี่เดือนที่เรียกว่าพระไตรปิฎก ได้รับการยอมรับว่าเป็นคำสอนที่บริสุทธิ์บริบูรณ์ ไม่ผิดเพี้ยนจากที่ตรัสไว้
...อ่านต่อ
องค์แห่งธรรมกถึก (จรรยาบรรณนักเทศน์) ๕ ประการ อานิสงส์แห่งการฟังธรรม ๕ ประการ คุณสมบัติของนักเผยแผ่ ๖ ประการ องค์ประกอบของบทเทศนา
...อ่านต่อ
วิธีการเทศน์ คือระเบียบปฏิบัติในการเทศน์ เป็นการนำ ความรู้เรื่องหลักการเทศน์มาปฏิบัติ โดยมีหลักศาสนพิธีเป็นเครื่องเชื่อมประสานให้กลมกลืนเป็นเนื้อเดียว ลงตัว และเป็นแบบอย่างให้ปฏิบัติตามได้
...อ่านต่อ
เป็นที่เข้าใจกันโดยทั่วไปแล้วว่า “การเทศน์” นั้นหมายถึง การแสดงธรรม การชี้แจงธรรม การเปิดเผย ทำให้แจ่มแจ้งซึ่ง ธรรม และมิได้จำกัดวิธีการเทศน์โดยเพียงการแสดงธรรมบน ธรรมาสน์อันเป็นวิธีการที่ปฏิบัติกันโดยทั่วไปเท่านั้น หากยังหมาย รวมไปถึงการแสดง การชี้แจง การเปิดเผย ทำให้แจ่มแจ้ง
...อ่านต่อ
การเทศน์เป็นวิธีเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างหนึ่งพระพุทธเจ้าทรงใช้วิธีนี้ประดิษฐานพระพุทธศาสนาแต่เริ่มแรก โดยทรงถือปฏิบัติด้วยพระองค์เองและทรงแนะนำให้พระสงฆ์สาวกปฏิบัติตาม จนเป็นเหตุให้พระพุทธศาสนาหยั่งรากลึกลงในชมพูทวีปในสมัยนั้นและมีความมั่นคงมาอีกหลายร้อยปี
...อ่านต่อ
เป็นที่รับทราบกันเป็นอย่างดีแล้วว่าสมัยต้นพุทธกาลนั้นพระพุทธเจ้าทรงส่งพระสาวกไปยังคามนิคมต่างๆ ทุกทิศทางในชมพูทวีปเพื่อช่วยกันเผยแผ่พระพุทธศาสนาซึ่งสมัยนั้นเรียกว่าพระธรรมวินัย และได้รับความสำเร็จอย่างสูง ผู้คนในยุคนั้นมีความตื่นตัวกันมาก ถึงกับยอมละทิ้งลัทธิศาสนาเดิมของตนหันกลับมานับถือพระพุทธศาสนากัน
...อ่านต่อ
การฟังธรรมในยุคสมัยปัจจุบันเริ่มเสื่อมความนิยมลงไปเรื่อยๆ ที่มีฟังกันอยู่ที่เป็นไปตามธรรมเนียมนิยมเป็นส่วนใหญ่ กล่าวคือเมื่อมีงานทำบุญสำคัญที่นิยมมีเทศน์กันมาเช่นงานศพ งานฉลอง ก็จัดให้มีเทศน์ด้วยเพื่อให้ถูกธรรมเนียม แต่ก็มีแบบพอให้เป็นกิริยาบุญว่าได้ทาแล้วหรือพอให้ได้เป็นอานิสงส์เท่านั้น มิได้หวังผลอานิสงส์แห่งการฟังธรรมตามที่ควรจะเป็น
...อ่านต่อ
พระธรรมกถึก คือพระที่แสดงธรรมหรือพระนักเทศน์นั่นเองในการเผยแผ่พระพุทธศาสนานั้นนอกจากพระพุทธเจ้าจะทรงเป็นพระธรรมกถึกเองแล้วยังทรงมอบหมายให้พระสงฆ์สาวกจาริกไปในที่ต่างๆ เพื่อช่วยกันระดมธรรมให้ไปถึงประชุมชนในที่ต่างๆ ด้วย พระสงฆ์สาวกเหล่านั้นต่างทำหน้าที่เป็นพระธรรมกถึกกันมาโดยตลอดทำให้พระพุทธศาสนาสามารถตั้งหลักในชมพูทวีปได้อย่างรวดเร็วและแพร่หลายขยายตัวไปยังประเทศต่างๆ แล้วดำรงมั่นคงอยู่ในประเทศนั้นๆ ได้เช่นเดียวกับชมพูทวีป
...อ่านต่อ
อันผู้เทศน์หรือผู้แสดงธรรมนั้น เมื่อแบ่งตามคุณภาพและ ประสิทธิภาพแล้วมี ๒ ประเภทคือ ประเภทเทศน์ได้ กับ ประเภท เทศน์ดี ประเภทเทศน์ได้ คือสามารถที่จะเทศน์ให้ชาวบ้านฟังได้ตาม ธรรมเนียม เทศน์พอให้ครบหลักการทำบุญ ๓ ประการคือทาน ศีล ภาวนา
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล