คู่ปรับของอุเบกขา คือ ราคะ อารมณ์อุเบกขาพรหมวิหาร หรืออุเบกขาภาวนานี้ แตกต่างจากอารมณ์อุเบกขาบารมี ซึ่งเป็นหนึ่งในทศบารมี เพราะอุเบกขาภาวนา
...อ่านต่อ
ผู้ที่บรรลุถึงขั้นอัปปนาสมาธิหรืออุเบกขาสีมสัมเภทดีแล้ว จึงใช้วิธีแผ่อุเบกขาตามแบบบริกรรมท่องจำโดยรวม การแผ่อุเบกขาทั่วไปแบบนี้
...อ่านต่อ
ครั้นแล้ว ผู้ปฏิบัติพึงทำอุเบกขาจิตให้เป็นสีมสัมเภท โดยการวางใจให้เสมอกันในบุคคลเหล่านี้ คือ คนเป็นกลางๆ คนที่รัก
...อ่านต่อ
ในการเจริญอุเบกขานี้ มีข้อที่แตกต่างจากการเจริญพรหมวิหารสามอย่างข้างต้น คือ พรหมวิหารสามอย่างข้างต้น ไม่มีการจำกัดบุคคล ใครจะปฏิบัติก็ได้และสามารถทำได้สำเร็จ ถึง ขั้นตติยฌาน ส่วนการเจริญอุเบกขาภาวนา ผู้เจริญจะต้องเป็นผู้ที่ผ่านการปฏิบัติ เมตตา กรุณา มุทิตา
...อ่านต่อ
อุเบกขา หมายความว่า การมีใจวางเฉยในสัตว์ทั้งหลาย ไม่มีอาการของเมตตา กรุณา มุทิตา คือ ไม่น้อมไปในความปรารถนาดี ไม่น้อมไปในการบำบัดทุกข์ ไม่น้อมไปในการชื่นชมยินดีในความสุขความเจริญของเหล่าสัตว์แต่อย่างใดทั้งสิ้น
...อ่านต่อ
ในการแผ่มุทิตาในวิชชาธรรมกาย ให้เริ่มจาก “ ศูนย์กลางกาย” โดยเริ่มแผ่ความใสสว่าง ออกมาจากศูนย์กลางกายให้ครอบคลุมตนเองก่อน จนเห็นตัวเองใสสว่างและมีความชื่นชมกับตนเอง
...อ่านต่อ
1.ลักษณะ : มีการบันเทิงใจในคุณความดี ทรัพย์ บริวาร ความสุข ของผู้อื่น เป็นลักษณะ 2.กิจ : มีการไม่ริษยาในคุณความดี ทรัพย์ บริวาร ความสุข ของผู้อื่น เป็นกิจ 3.อาการปรากฏ : ทำลายความริษยา เป็นอาการปรากฏแก่ผู้ที่ทำการ เจริญมุทิตา
...อ่านต่อ
ผู้ที่บรรลุถึงขั้นอัปปนาสมาธิหรือมุทิตาสีมสัมเภทดีแล้ว จึงใช้วิธีแผ่มุทิตาตามแบบ บริกรรมท่องจำโดยรวม การแผ่มุทิตาทั่วไปแบบนี้
...อ่านต่อ
ต่อจากนั้นให้ทำมุทิตาให้เป็นสีมสัมเภท คือทำจิตให้เสมอกันในบุคคลทั้ง 4 จำพวก คือ คนที่รักมาก คนเป็นกลางๆ คนคู่เวร และตนเอง ในการเจริญมุทิตาภาวนา เมื่อได้เพียรทำภาวนาให้มากเข้าๆ
...อ่านต่อ
การเจริญมุทิตาภาวนา ต้องใช้มุทิตาแท้ และแผ่ไปยังสัตว์ทั้งหลายที่กำลังมีความสุขอยู่หรือที่จะมีในเวลาข้างหน้า ผู้ปฏิบัติเมื่อมีความประสงค์จะเจริญมุทิตาพรหมวิหารนั้น
...อ่านต่อ
มุทิตา หมายความว่า ความพลอยยินดีรื่นเริงบันเทิงในความสุขสมบูรณ์ของผู้อื่น จิตใจของผู้มีมุทิตาจิต จะถือเอาสัตว์ที่มีความสุขเป็นอารมณ์
...อ่านต่อ
เป็นไปในทำนองเดียวกันกับเมตตาภาวนา แตกต่างกันแต่ลำดับบุคคลที่แผ่ให้ในตอนต้น และอารมณ์ธรรมที่เกิดขึ้น คือ ในการแผ่กรุณาในวิชชาธรรมกาย ให้เริ่มจาก “ ศูนย์กลางกาย”
...อ่านต่อ
1.ลักษณะ : มีความเป็นไปแห่งกายวาจาใจ ในอันที่จะบำบัดทุกข์ของ ผู้อื่นให้ปราศจากไป เป็นลักษณะ 2.กิจ : มีการอดกลั้นนิ่งดูดายอยู่ไม่ได้ต่อทุกข์ของผู้อื่น และอยากช่วยเหลือเป็นกิจ
...อ่านต่อ
การแผ่กรุณา 3 อย่าง เป็นการแผ่ทั่วไปให้แก่สรรพสัตว์ 12 จำพวก เช่นเดียวกับในเมตตาภาวนา ผู้ที่บรรลุถึงขั้นอัปปนาสมาธิหรือกรุณาสีมสัมเภทดีแล้วจึงใช้วิธีแผ่กรุณาตามแบบ
...อ่านต่อ
ผู้ปฏิบัติต้องทำกรุณาให้เป็นสีมสัมเภทในบุคคล 4 จำพวก คือ ตนเอง คนที่รัก คนที่เป็นกลางๆ คนที่เป็นศัตรู โดยพยายามเจริญกรุณาซ้ำแล้วซ้ำเล่า จนกระทั่งจิตมีความกรุณาเสมอกันในบุคคล 4 จำพวกนั้น เช่นเดียวกับในเมตตาภาวนา
...อ่านต่อ
การเจริญกรุณาภาวนา ผู้ปฏิบัติต้องทำการแผ่กรุณาแท้ กรุณาเทียมใช้ไม่ได้ การแผ่ต้องแผ่ไปในสัตว์ที่กำลังได้รับความทุกข์
...อ่านต่อ
กรุณา คือ ความหวั่นใจเมื่อเห็นผู้อื่นมีทุกข์ คิดหาทางช่วยเหลือปลดเปลื้องจากทุกข์นั้น หรือ ความสงสารคิดจะช่วยให้พ้นทุกข์ หมายความว่า เมื่อเห็นสัตว์ทั้งหลายได้รับความลำบาก จิตของสัปปบุรุษย่อมเกิดความหวั่นไหว นิ่งดูอยู่ไม่ได้ ย่อมพยายามช่วยผู้ที่ได้รับความลำบาก ให้ได้รับความสุข
...อ่านต่อ
ในการแผ่เมตตาในวิชชาธรรมกาย ให้เริ่มจาก “ ศูนย์กลางกาย” โดยเริ่มแผ่ความใสสว่างออกมาจากศูนย์กลางกายให้ครอบคลุมตนเองก่อน จนเห็นตัวเองใสสว่างและมีความรักปรารถนาดีกับตนเอง โดยอาจใช้คำบริกรรมภาวนาช่วย
...อ่านต่อ
1.ลักษณะ ลักษณะ : เป็นผู้มีลักษณะความเป็นไปทางกาย วาจา ใจ พร้อม ที่จะทำประโยชน์ให้แก่สัตว์ทั้งหลายเป็นลักษณะ
...อ่านต่อ
ผู้ที่บรรลุถึงขั้นอัปปนาสมาธิหรือสีมสัมเภทเมตตาดีแล้ว จึงใช้วิธีแผ่เมตตาตามแบบบริกรรมท่องจำโดยรวม การแผ่เมตตาทั่วไปแบบนี้ แผ่ให้แก่บุคคล 12 จำพวก
...อ่านต่อ
ผู้ที่เจริญเมตตากัมมัฏฐานจนถึงขั้นอัปปนาสมาธิแล้ว ย่อมสามารถแผ่เมตตาเจาะจงไปทั่วทิศ คือ ย่อมเมตตาไปในทิศใหญ่ทิศหนึ่งมีทิศตะวันออกเป็นต้น
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล