กรรมที่เป็นเหตุให้ไปเกิดในอรูปพรหมภูมิ เรียกว่า อรูปาวจรกุศลกรรม ซึ่งเป็นกุศลกรรมที่กระทำได้ แต่ทางมโนทวารทางเดียว คือเป็นบุญที่สำเร็จด้วยภาวนามัยในเรื่องการบำเพ็ญอรูปาวจรกุศลกรรมนี้ มีความเห็นแบ่งออกเป็น ๒ ประการ
...อ่านต่อ
กรรมที่เป็นเหตุให้ไปสู่รูปพรหมภูมิ เรียกว่า รูปาวจรกุศลกรรมนี้ต่างกันกับกามาวจรกุศลกรรม คือ
...อ่านต่อ
กรรมอันเป็นเหตุให้ไปสู่กามสุคติภูมิในข้อที่ ๔ ได้แก่โดยการประกอบบุญญกิริยาวัตถุมี ๑๐ ประการ คือ
...อ่านต่อ
ที่ได้กล่าวมาแล้ว คือกรรมอันเป็นเหตุให้ไปสู่กามสุคติภูมิ ข้อที่ ๑ และข้อที่ ๒ (ข้อที่ ๑. คือ กุศลกรรมบถ ๑๐ ข้อที่ ๒. คือ ทาน ศีล ภาวนา) ส่วนข้อที่ ๓. กรรมอันเป็นเหตุให้ไปสู่กามสุคติภูมิ เกิดด้วยอำนาจของกุศลจิต มี ๘ อย่างเรียกว่า มหากุศลจิต
...อ่านต่อ
การภาวนามีประโยชน์และอานิสงส์มากมายหลายประการเช่น  ๑. กุสลวฑฒาปนลักขณา มีการทำกุศลให้เจริญขึ้นเป็นลักษณะ ๒. อกุสลปทานรสา มีการประหาณอกุศลเป็นกิจ  ๓. สตฺตาจาโรทุกมนปัจจุปปฏฐานา มีการเข้าสู่ทางปฏิบัติเกี่ยวกับสติของนามกายรูปกายเป็นอาการปรากฏ ๔. โยนิโสมนสิการปฏฐานา มีการตั้งใจอยู่ในอารมณ์ด้วยอำนาจแห่งเหตุที่ถูกที่ควร เป็นเหตุใกล้ ๕. ปฏิกเขปธมฺม ธรรมที่ถูกประหาณโดยภาวนา ได้แก่โมหะ
...อ่านต่อ
โดยหลักการปฏิบัติกรรมฐานตามคำสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วทรงแสดงไว้ว่า
...อ่านต่อ
ที่กล่าวจบลงไปนั้นเป็นการเจริญภาวนาชนิดสมถกรรมฐาน ๔๐ วิธี การเจริญภาวนาอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า วิปัสสนาภาวนา วิปัสสนาภาวนา คือการเจริญภาวนาเพื่อให้เห็นแจ้งเป็นพิเศษในอารมณ์ต่าง ๆ ที่มากระทบโดยมีความเห็นว่า ๑.ทุกสิ่งทุกอย่างนั้น เป็นแต่เพียง รูปกับนาม เท่านั้น ไม่มีอะไรนอกเหนือไปจากสองสิ่งนี้ ๒. ทุกสิ่งทุกอย่างมีแต่ความเป็น อนิจจะ ทุกขะ อนัตตะ และอสุภะ เท่านั้น
...อ่านต่อ
จตุธาตุววัตถาน หมายความว่า การพิจารณาธาตุทั้ง ๔ ที่ปรากฏในร่างกาย จนกระทั่งเห็นเป็นแต่เพียงกองแห่งธาตุ ๔ อย่าง ไม่มีความรู้สึกว่าร่างกายนั้น ๆ เป็น หญิง ชาย เรา เขา สัตว์ บุคคล
...อ่านต่อ
อัปปมัญญา หมายความว่า ธรรมที่เป็นไปในสัตว์ทั้งหลายหาประมาณมิได้ ไม่มีจํากัด มี ๔ อย่าง คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ผู้เจริญจะต้องกําหนดใจแผ่ให้ตลอดทั่วไปในสัตว์ทั้งหลายไม่มีจำกัด ไม่มีกำหนด จึงจะเรียกว่าเป็นการแผ่ที่เป็น “อัปปปัญญา” ถ้าแผ่ชนิดจํากัดบุคคล จํากัดสถานที่ เรียกว่า เป็นการแผ่พรหมวิหารธรรม ธรรมดา ไม่ชื่อว่า อัปปมัญญา
...อ่านต่อ
วิธีเจริญมรณานุสสติ เมื่ออยู่ในที่อันสมควรต่อการปฏิบัติและมนสิการด้วยอุบายต่าง ๆ เพื่อให้เกิดสติปัญญา และธรรมสังเวชขึ้นแล้ว จึงบริกรรมภาวนาด้วยภาษาบาลี หรือไทยว่า
...อ่านต่อ
 การเจริญภาวนา ไม่ว่าสมถภาวนา หรือ วิปัสสนาภาวนา ก็ตาม ก่อนอื่นต้องปฏิบัติตนให้เรียบร้อยในเรื่อง ๗ เรื่อง คือ            ๑. ตั้งตนอยู่ในศีล            ๒. ตัดเครื่องกังวลใหญ่ (มหาปลิโพธ) ๑๐ ประการ            ๓. แสวงหากัลยาณมิตรที่มีความรู้ในการแนะนำวิธีเจริญกรรมฐาน            ๔. ศึกษาอบรมและปฏิบัติกรรมฐาน ชนิดที่เหมาะสมกับจริตของตน            ๕. เว้นจากสถานที่ที่เป็นโทษในการปฏิบัติ            ๖. อยู่ในสถานที่ที่สะดวกสบายในการปฏิบัติ            ๗. ติดเครื่องกังวลเล็กน้อย (ขุททกปลิโพธ) ออก ก่อนลงมือปฏิบัติ
...อ่านต่อ
 ภาวนา แปลว่า ธรรมที่ควรกระทำให้เจริญขึ้น คือให้เกิดขึ้นบ่อย ๆ ในสันดานของตน “ภาเวตพฺพาติ - ภาวนา” แปลความว่า ธรรมที่บัณฑิตทั้งหลายจึงทำให้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกและครั้งหลัง ๆให้ติดต่อกันเป็นนิจ จนถึงเจริญขึ้น ฉะนั้น จึงชื่อว่าภาวนา
...อ่านต่อ
ศีล คือ สภาวะความเป็นปกติของสัตว์ทั้งหลาย "สีลยติ กายวอีกมุมาน สมมาทาตีติ - สีล” ธรรมชาติใดย่อมกระทำให้กายกรรมและวจีกรรมตั้งไว้ด้วยดี ธรรมชาตินั้นชื่อว่า ศีล ได้แก่ เจตนาเจตสิกที่กระทำให้กายวาจาเคลื่อนไหวแต่ในสิ่งที่ดี
...อ่านต่อ
คําว่า ทาน มีความหมาย ๒ ประการ คือ ๑. "ทียติ เอเตนาติ - ทานํ” ชนทั้งหลายจึงให้โดยเจตนานี้ ฉะนั้นเจตนาที่เป็นเหตุแห่งการให้ ชื่อว่า ทาน คำว่าทานในความหมายนัยแรก จึงหมายเอา ตัวเจตนา อันเป็นเหตุแห่งการให้ทานนั้นสำเร็จลง ๒. "ทาดพฺพนฺติ - ทานํ” งของอันใดที่ชนทั้งหลายจึงให้ ฉะนั้นสิ่งของอันนั้นชื่อว่า ทาน คำว่าทานในความหมายนัยที่สอง จึงหมายเอา วัตถุสิ่งของที่พึ่งให้ ทานจึงมี ๒ อย่าง คือ เจตนาทาน และวัตถุทาน
...อ่านต่อ
เมื่อได้ทราบคำตอบของคำถามว่า “เราคือใคร” ไปแล้ว คำถามต่อไปที่ควรหาค่า ตอบให้ได้คือ "เราควรทำอะไร จึงจะได้รับคุณค่าสมกับที่ได้เกิดมาตามคำตอบที่ ๑ นั้น
...อ่านต่อ
    คำว่า “ขันธ์" หมายความว่า สิ่งที่เป็น กลุ่ม เป็นกอง หรือเป็นพวก ๆ ขันธ์ ๕ จึงหมายถึง สิ่งที่แยกกันไว้เป็นกลุ่ม เป็น กอง หรือเป็นพวก ๆ จำนวน ๕ อย่าง
...อ่านต่อ
 จิต เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นในสรรพสัตว์ มีลักษณะรู้อารมณ์ต่าง ๆ ทั้งทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจเอง เป็นสภาพรับอารมณ์อยู่เสมอ จิตเป็นตัวรู้ สิ่งที่จิตรู้ สิ่งนั้นเรียกว่า “อารมณ์” เมื่อมีอารมณ์ต่าง ๆ อยู่ในโลก
...อ่านต่อ
 ภาพภูมิทั้ง ๓๑ ที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น คือค่าตอบคำถามที่ถามว่า "เราคือใคร" ในฐานะที่ผู้ตอบยังรู้สึกว่า มีตัวตนอยู่ เราก็คือ ชีวิต ชีวิตหนึ่งที่สามารถเวียนว่ายตายแล้วเกิด เกิดแล้วตาย เกิด ๆ ตาย ๆ ซ้ำ ๆ ซาก ๆ ยังภูมิใดภูมิหนึ่งใน ๓๑ ภูมินั้น เป็นอยู่ดังนี้ไม่รู้จักสิ้นสุด
...อ่านต่อ
ความเป็นไปของพระอาทิตย์และพระจันทร์
...อ่านต่อ
เมื่อโลกทั้งปวงพินาศจนอากาศสืบเนื่องเป็นอันเดียวกันแล้ว เป็นเวลานานนับประมาณมิได้ เมื่อจะเกิดโลกขึ้นใหม่
...อ่านต่อ
เหตุที่ทำให้โลกพินาศ ในสมัยใดที่สัตว์ทั้งหลายมีสันดานหนาแน่นด้วยราคะ โทสะ โมหะ
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล