เทวตานุสติ คือ การระลึกถึงกุศลกรรมของตน มีศรัทธาเป็นต้น โดยเปรียบเทียบกับเทวดา พรหมทั้งหลาย ที่บริบูรณ์ด้วยสัปปุริสรัตนะ 7 อย่าง และสัทธรรม 7 ประการอยู่เนืองๆ
...อ่านต่อ
1.ทำให้ได้รับความสุขจากการสละ 2.ทำให้ไม่ละโมบ 3.ทำให้อยู่อย่างไม่มีทุกข์
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กล่าวไว้ว่า เมื่อเจริญจาคานุสติอย่างนี้แล้วจะทำให้ถึงเพียง”อุปจารสมาธิ” แต่ในวิธีปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย เมื่อปฏิบัติจริงๆ แล้วสามารถไปถึงเลยกว่า “ อุปจารสมาธิ” ได้
...อ่านต่อ
จาคานุสติ คือ การระลึกถึงการบริจาค การสละของตนที่เป็นไปด้วยความบริสุทธิ์ โดยไม่โอ้อวด ไม่ตระหนี่ ไม่เอาหน้าหรือหวังชื่อเสียง เล็งเห็นคุณของการบริจาค
...อ่านต่อ
การมีศีลบริสุทธิ์เป็นสิ่งจำเป็นในการปฏิบัติธรรมทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นการเจริญกัมมัฏฐาน วิธีใด ศีลบริสุทธิ์ดีแล้วจะเกิดคุณธรรมต่างๆ ขึ้นตามลำดับ
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคกล่าวไว้เพียงว่า เมื่อเจริญสีลานุสติอย่างนี้แล้ว จะทำให้ได้เพียง “ อุปจารสมาธิ” แต่ในวิธีปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายนั้น เมื่อปฏิบัติจริงๆ สามารถเลยไปกว่า “ อุปจารสมาธิ” ได้
...อ่านต่อ
สีลานุสติ คือ การตามระลึกถึงศีลที่ตนรักษาไว้โดยปราศจากโทษอยู่เนืองๆ
...อ่านต่อ
สังฆานุสติ คือ การตามระลึกถึงคุณของพระสงฆ์เป็นอารมณ์ พระสงฆ์ มี 2 จำพวก คือ สมมติสงฆ์ และอริยสงฆ์
...อ่านต่อ
1.จิตของผู้เจริญธัมมานุสติ จะน้อมไปเพื่อตรัสรู้อนุตรธรรม 2.ทำให้มีความเคารพในพระธรรม 3.ทำให้มีศรัทธามากขึ้น
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้อธิบาย “ ธัมมานุสติ” ในทำนองคล้ายกับ “ พุทธานุสติ” คือ เป็นเพียงการตรองหรือคิดพิจารณาพระธรรมคุณเท่านั้น จึงทำให้เข้าถึงแค่ อุปจารสมาธิŽ
...อ่านต่อ
ธรรมที่พระพุทธองค์ตรัสรู้แล้ว หมายถึง ทั้งปริยัติธรรม ปฏิบัติธรรม และปฏิเวธธรรม เป็นธรรมที่นำไปสู่การหลุดพ้น และพระองค์ก็ได้ตรัสไว้ดีแล้ว
...อ่านต่อ
ธัมมานุสติ คือ การตามระลึกถึงคุณของพระธรรมเป็นอารมณ์ พระธรรม มี 3 ประการคือปริยัติธรรม ปฏิบัติธรรม ปฏิเวธธรรม
...อ่านต่อ
ผู้ที่เจริญพุทธานุสติ จะได้รับอานิสงส์ดังนี้ คือ 1.ทำให้ถึงความไพบูลย์แห่งศรัทธา คือ มีศรัทธามั่นคงมากขึ้น 2.ทำให้มีสติ
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้อธิบายเกี่ยวกับการเจริญพุทธานุสติไว้เพียงว่า เป็นการตรองหรือคิดพิจารณาพระพุทธคุณเท่านั้น และทำให้ไปถึงสมาธิเพียงระดับ
...อ่านต่อ
ในบทพระพุทธคุณมี 2 คำ คือ คำที่ขึ้นต้นบท (อิติปิโส ภควา) และภควาที่ลงท้ายบททั้งสองคำมีความต่างกัน ภควาคำแรกเป็นคำร้องเรียกด้วยความเคารพว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ส่วนภควาคำหลังหมายถึง ผู้จำแนกแจกธรรม ผู้มีคุณธรรมสมบูรณ์พร้อม ทั้งทรงบริบูรณ์ด้วยพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระกรุณาธิคุณ ทรงนำธรรมะที่ตรัสรู้แล้วมาสอนเวไนยสัตว์
...อ่านต่อ
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ที่ได้ชื่อว่า พุทโธ เพราะได้ทำให้แจ้งในมรรคผลแล้ว ทรงมีพระบวรสันดานอบรมไว้ด้วยพระอรหัตตมรรคญาณอันประเสริฐเป็นเหตุให้เกิดสัพพัญญุตญาณ
...อ่านต่อ
ทรงเป็นพระบรมศาสดา เป็นผู้นำของมนุษย์ เทวดา พรหมทั้งหลาย ทรงนำไปให้พ้นจากที่กันดาร คือ การเกิด แก่ เจ็บ ตาย ให้เข้าถึงพระนิพพาน ประดุจพ่อค้านายกองเกวียนที่นำลูกน้องเดินทางพ้นที่กันดารที่มีภัยทั้งหลาย ไปสู่จุดมุ่งหมายปลายทางอย่างสุขสงบปลอดภัย
...อ่านต่อ
หมายถึง ยอดเยี่ยม เพราะพระพุทธองค์เป็นผู้ประเสริฐสุดในหมู่มนุษย์และสรรพสัตว์ ไม่มีใครเหนือกว่า หาใครเทียบไม่ได้ พระพุทธองค์ทรงยอดเยี่ยมด้วยคุณต่างๆ
...อ่านต่อ
ทรงพระนามว่า “ โลกวิทู” เพราะทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก คือทรงเข้าพระหฤทัยปรุโปร่งซึ่งโลกโดยประการทั้งปวง คือทั้งโดยสภาวะ ทั้งเหตุเกิดของโลก ธรรมที่ดับของโลก และรู้จักทางปฏิบัติให้ถึงธรรมที่ดับของโลก อีกนัยหนึ่ง หมายถึงทรงรู้แจ้งโลกทั้ง 3 คือ สัตวโลก สังขารโลก และโอกาสโลก
...อ่านต่อ
ทรงพระนามว่า “ สุคโต” เพราะทรงเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว พระพุทธคุณบทนี้ มีอธิบายความหมายในคัมภีร์วิสุทธิมรรคว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า สุคโต เพราะเป็นผู้มีทางเสด็จไปอันงาม
...อ่านต่อ
ทรงพระนามว่า “ วิชชาจรณสัมปันโน” เพราะทรงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ พระพุทธคุณข้อนี้ประกอบด้วยองค์ 2 คือ วิชชา และจรณะ
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล