เมื่อเจริญเมตตาจนสำเร็จถึงขั้นสีมสัมเภทหรืออุปจารสมาธิ ต่อจากนี้ก็ให้ทำสีมสัมเภทนั้นให้เป็นนิมิตกัมมัฏฐาน แล้วพยายามส้องเสพนิมิตนั้นให้ต่อเนื่องสม่ำเสมอปรารถนาความเพียรให้มากทำให้มากทั้งกลางวันกลางคืน ทำทั้งหลับตา
...อ่านต่อ
เมื่อผู้เจริญเมตตาได้พยายามบรรเทาความโกรธในคนที่เป็นศัตรูให้ระงับลงได้ด้วยอุบายวิธีต่างๆ ดังที่กล่าวมา จิตของผู้นั้นก็จะแผ่ไปน้อมไปแม้ในคนที่เป็นศัตรูนั้น
...อ่านต่อ
ในพรหมวิหารทั้ง 4 อย่าง คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขานั้น เมื่อปรารถนาจะเจริญเมตตาพรหมวิหารเป็นข้อแรก เบื้องต้นต้องตัดปลิโพธ6)คือ ความกังวลทั้ง 10 ประการ ให้หมดแล้วจึงรับเอากัมมัฏฐานจากอาจารย์มาศึกษาให้เป็นที่เข้าใจสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
...อ่านต่อ
เมตตา ความปรารถนาดี ความรักใคร่ในสัตว์ทั้งหลาย เป็นธรรมชาติที่เกิดขึ้นในใจ มีสภาวะปราศจากความโกรธในปิยมนาปสัตว์ (สัตว์ผู้เป็นที่รักที่ชอบใจ) นำความรู้สึกนี้มาเป็นอารมณ์กัมมัฏฐาน ปิยมนาปสัตว์หรือปิยมนาปบุคคล มีอยู่ด้วยกันสองประเภท
...อ่านต่อ
ในพรหมวิหารทั้ง 4 ประการนี้ แต่ละอย่าง มีอกุศลธรรมที่เป็นข้าศึกอย่างละ 2 คือ ข้าศึกใกล้และข้าศึกไกล 1. ข้าศึกของเมตตา ราคะเป็นข้าศึกใกล้ของเมตตาพรหมวิหาร เพราะเห็นว่าเป็นคุณเท่ากัน เหมือนศัตรูของบุรุษผู้เที่ยวไปใกล้กัน ราคะนั้นย่อมได้โอกาส เพราะฉะนั้น พึงรักษาเมตตาให้ดีอย่าให้เปลี่ยนเป็นราคะ
...อ่านต่อ
พรหมวิหาร มีความหมายว่า ธรรมเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมประจำใจอันประเสริฐ, ธรรมประจำใจของผู้มีคุณความดียิ่งใหญ่ มี 4 อย่าง คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
...อ่านต่อ
ในอรรถกถาพระไตรปิฎกมีหลายแห่งกล่าวไว้ว่า พรหมวิหาร 4 เป็นข้อปฏิบัติที่ พระโพธิสัตว์ในอดีตเคยปฏิบัติมาแล้ว และด้วยผลของการเจริญพรหมวิหารนั้นทำให้ไปบังเกิดในพรหมโลก การปฏิบัติเหล่านั้นถ้าไม่เสื่อมไปตามกาลเวลาก็จะต้องตกทอดมาถึงยุคของศาสนาพราหมณ์ซึ่งมีมาก่อนสมัยพุทธกาล แต่วิธีที่แท้จริงคาดว่าได้เลือนหายไปหมดแล้ว
...อ่านต่อ
1.มีสติ 2.มองเห็นความไม่เที่ยงในร่างกาย (อนิจจสัญญา) 3.มองเห็นความตายว่าจะบังเกิดกับทุกคน (มรณสัญญา) 4.มีความรังเกียจในร่างกาย 5.ทำให้กามตัณหาไม่ครอบงำ
...อ่านต่อ
ในสมัยพุทธกาลมีตัวอย่างบุคคลที่เจริญอสุภกัมมัฏฐาน จนใจหยุดนิ่งบรรลุธรรมหลายท่าน ในที่นี้จึงยกมาเป็นตัวอย่าง ดังต่อไปนี้ 1.พระมหากาลบรรลุอรหัตต์เพราะดูศพไหม้ไฟ
...อ่านต่อ
การเจริญอสุภกัมมัฏฐานนี้เป็นอุปการะแก่คนราคจริต โดยอสุภะแต่ละอย่างจะเหมาะแก่คนราคจริตดังต่อไปนี้ 1.อุทฺธุมาตกอสุภ เป็นสัปปายะแห่งบุคคลผู้มักกำหนัดในทรวดทรง เพราะส่อความ เสียทรวดทรงของร่างกา 2.วินีลกอสุภ เป็นสัปปายะแห่งบุคคลผู้มักกำหนัดในสีกาย เพราะส่อความเสียนวล แห่งผิว
...อ่านต่อ
การเจริญอสุภกัมมัฏฐานนั้น สำหรับผู้ที่มีนิสัยขลาดกลัวหรือกลัวผี เมื่อเกิดอุคคหนิมิต และขาดอาจารย์คอยควบคุมสอนการปฏิบัติ ก็อาจเข้าใจผิดว่าตนเองถูกผีหลอก
...อ่านต่อ
เมื่อได้พิจารณาอสุภะโดยอาการ 11 ดังกล่าวมาแล้ว ในการปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึง พระธรรมกาย นักปฏิบัติจะต้องนึกนิมิตนั้นไว้ที่ศูนย์กลางกาย โดยมีข้อปฏิบัติที่แตกต่างกันในอสุภะทั้ง 10 ประเภท
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ได้แนะนำถึงวิธีการในการเจริญอสุภกัมมัฏฐานหลายขั้นตอน คือ ในเบื้องต้น นักปฏิบัติจะต้องเข้าไปหาอาจารย์เรียนเอาวิธีการกำหนดอสุภะ แล้วจึงเข้าไปยังสุสาน หรือสถานที่ที่มีศพอยู่ โดยในการไปอยู่ในที่นั้น มีข้อที่ควรปฏิบัติดังนี้
...อ่านต่อ
อสุภะ หมายถึง ไม่สวยงาม มุ่งหมายถึงความเปลี่ยนแปลงของร่างกายของคนที่ตายไป การเจริญอสุภกัมมัฏฐาน คือ การพิจารณาซากศพในลักษณะต่างๆ กัน
...อ่านต่อ
ร่างกายมนุษย์ถือเป็นส่วนสำคัญในการเป็นพื้นฐานเพื่อรองรับการทำกุศล เพื่อไปสู่ฝั่งแห่งพระนิพพาน แต่ทว่ามีผู้คนจำนวนมากไม่ได้ใช้กายมนุษย์นี้เป็นไปเพื่อหนทางแห่งการหลุดพ้น
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล