เมื่อทราบกิจเบื้องต้นถี่ถ้วนถูกต้องแล้ว จึงพิจารณาดูรูปกายของตนเองตั้งแต่บนสุด คือ เส้นผมลงไปจนถึงปลายเท้า แล้วย้อนพิจารณาตั้งแต่ปลายเท้าจนถึงเส้นผมทบทวนไปมา ให้เห็นว่ารูปกายนี้เต็มไปด้วยสิ่งโสโครกประการต่างๆ ต่อจากนั้นจึงท่องชื่อให้ขึ้นใจแล้ว ตามระลึกถึงความหมายไปด้วย
...อ่านต่อ
ผู้ที่จะเจริญกายคตาสติ ก่อนลงมือปฏิบัติต้องรู้กิจเบื้องต้นแห่งการปฏิบัติให้ดีเสียก่อน กิจเบื้องต้นนั้นมีอยู่ 2 ประการใหญ่ๆ คือ 1.อุคคหโกสัลละ ความฉลาดในการศึกษา 7 อย่าง 2.มนสิการโกสัลละ ความฉลาดในการพิจารณา 10 อย่าง
...อ่านต่อ
กายคตาสติ คือ การระลึกถึงส่วนต่างๆ ของร่างกาย ซึ่งเป็นที่ประชุมกันด้วยโกฏฐาสะ 32 หรือ อาการ 32 กายคตาสตินี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทวัตติงสาการกัมมัฏฐาน
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคท่านกล่าวไว้ว่า “ การเจริญกายคตาสตินี้ จะมีได้ในพระพุทธศาสนา เท่านั้น นอกจากพระพุทธศาสนาแล้ว จะมีไม่ได้เลย” แม้ว่าพวกเดียรถีย์ที่ตั้งตัวเป็นศาสดา ทำการปฏิบัติเผยแผ่ลัทธิแก่ชนทั่วไป ในสมัยใดๆ ก็ตาม ก็มิอาจรู้ถึงวิธีการเจริญกายคตาสติกัมมัฏฐานนี้ได้
...อ่านต่อ
อานิสงส์ของผู้ที่เจริญมรณานุสติ 1.ทำให้เป็นผู้ขวนขวายในกุศลธรรม สนใจใฝ่ใจในธรรมชั้นสูง 2.ทำให้เป็นผู้ไม่ชอบความชั่ว หลีกเลี่ยงความชั่ว
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคได้กล่าวว่า เมื่อเจริญมรณานุสติอย่างนี้แล้ว ไม่สามารถทำให้ได้ฌาน ทำให้ถึงเพียง “ อุปจารสมาธิ”
...อ่านต่อ
มื่อนักปฏิบัติระลึกถึงความตายอย่างใดอย่างหนึ่งใน 8 อย่างดังกล่าวมานี้ ขั้นแห่งความสำเร็จ คือ ความรู้สึกที่เกี่ยวกับความตาย ที่เรียกว่า มรณสัญญา ก็จะเกิดขึ้นเป็นลำดับขั้น มี 8 ประการ
...อ่านต่อ
จริงอยู่เมื่อว่าโดยปรมัตถ์ ขณะแห่งชีวิตของสัตว์ทั้งหลายน้อยนัก ชั่วความเป็นไปแห่งจิต ขณะเดียวเท่านั้น เปรียบเหมือนล้อรถแม้เมื่อหมุนไป ก็หมุนด้วยส่วนแห่งกงส่วนหนึ่งเท่านั้น
...อ่านต่อ
อทฺธานปริจฺเฉทโต อธิบายว่า อายุขัยของมนุษย์ทั้งหลายในปัจจุบันนี้สั้น ผู้ที่มีอายุยืน มีอายุอยู่ถึง 100 ปี หรือเกินกว่านั้นก็มีอยู่บ้าง แต่เป็นส่วนน้อย เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อายุของมนุษย์ทั้งหลายนี้น้อยนัก จำต้องไปสู่สัมปรายภพ ควรทำกุศล ควรประพฤติพรหมจรรย์ สัตว์ผู้เกิดมาแล้วจะไม่ตายไม่มี ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนที่เป็นอยู่นาน ย่อมเป็นอยู่ได้เพียงร้อยปี หรือจะอยู่เกินไปได้บ้าง ก็มีน้อย”12)
...อ่านต่อ
ผู้ปฏิบัติพึงระลึกว่า จริงอยู่ ธรรม 5 ประการนี้ คือ ชีวิต พยาธิ กาล สถานที่ทอดร่าง และคติ ของสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้ ไม่มีนิมิต รู้ไม่ได้ ในธรรม 5 ประการนั้น ชีวิตชื่อว่าไม่มีนิมิต
...อ่านต่อ
ผู้ปฏิบัติพึงระลึกว่า ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายผูกพันอยู่กับลมหายใจเข้าออก 1 ผูกพันอยู่กับอิริยาบถ 1 ผูกพันอยู่กับความเย็นความร้อน 1 ผูกพันอยู่กับมหาภูต (มหาภูตรูป 4 คือ ดิน, น้ำ, ไฟ, ลม)
...อ่านต่อ
อธิบายว่า กายนี้เป็นสาธารณะแก่สัตว์มากชนิด คือประการแรกก็เป็นสาธารณแก่ กิมิชาติ 80 จำพวก (กิมิชาติ = หมู่หนอน, ในปัจจุบันเรียกว่า เชื้อโรค ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชีวิตที่ ไม่มีวิญญาณครอง
...อ่านต่อ
อุปสํหรณโต คือ นึกโดยเปรียบเทียบตนกับคนอื่นๆ ที่ได้ตายไปแล้ว ในข้อนี้ มีอธิบายว่า นักปฏิบัติพึงระลึกถึงความตายโดยเปรียบเทียบด้วยอาการ 7
...อ่านต่อ
ธรรมดาสมบัติในโลกนี้จะงดงามอยู่ได้ก็ชั่วระยะเวลาที่วิบัติยังไม่ครอบงำ และขึ้นชื่อว่าสมบัติที่จะล่วงพ้นวิบัติรอดอยู่ได้ ย่อมไม่มี แม้พระเจ้าอโศกผู้ทรงมีสุข
...อ่านต่อ
ผู้ปฏิบัติพึงระลึกว่า เพชฌฆาตคิดว่าจะตัดศีรษะคนผู้นี้ ถือดาบจ่อที่คอ ยืนประชิดตัวอยู่ฉันใด แม้ความตายก็ปรากฏฉันนั้นเหมือนกัน
...อ่านต่อ
สำหรับผู้ที่ไม่สามารถทำให้อุปจารสมาธิเกิดได้ด้วยการพิจารณาเพียงเท่านี้ ให้ระลึกถึง ความตายโดยอาการ 8 อย่าง คือ 1.วธกปจฺจุปฏฺฐานโต โดยปรากฏดุจเพชฌฆาต 2.สมฺปตฺติวิปตฺติโต โดยวิบัติแห่งสมบัติ
...อ่านต่อ
เมื่อจะเจริญมรณานุสติ ควรปลีกตัวออกไปอยู่ในที่สงัด และส่งจิตไปจดจ่ออยู่กับอารมณ์นั้น โดยคิดถึงความตายที่จะเกิดขึ้น และชีวิตของเราจะจบสิ้นลง
...อ่านต่อ
การเจริญมรณานุสติ ไม่สามารถทำได้กับสมุทเฉทมรณะ ขณิกมรณะ และสมมติมรณะ เพราะสมุทเฉทมรณะมีได้น้อย มีแต่เฉพาะพระอรหันต์เท่านั้น เราจึงไม่สามารถเห็นได้ทั่วไป
...อ่านต่อ
มรณานุสติ หรือมรณัสสติ คือ การระลึกถึงความตาย ความแตกดับของสังขารร่างกาย เป็นอารมณ์ ท่านกล่าวไว้ว่า มรณานุสติ
...อ่านต่อ
1. ทำให้เพิ่มพูนคุณธรรม 5 ประการ คือ 1.1ศรัทธา มีความเชื่อในการกระทำความดี 1.2ศีล มีความประพฤติดีทางกายวาจา 1.3สุตะ ได้ยินได้ฟังได้ศึกษาคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 1.4จาคะ มีการบริจาค เสียสละ ให้ทาน 1.5 ปัญญา มีการเพิ่มพูนความรู้ด้วยการคิด ฟัง ภาวนา
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคกล่าวไว้ว่า เมื่อเจริญเทวตานุสติอย่างที่ได้อธิบายมานี้ ทำให้ถึงเพียง “ อุปจารสมาธิ” แต่ในวิธีการปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย เมื่อปฏิบัติจริงๆ แล้ว สามารถไปถึงเลยกว่า “ อุปจารสมาธิ” ได้
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล