อานิสงส์ 8 ประการที่ได้รับจากการเจริญธาตุทั้ง 4 1. สุญฺญตํ อวคาหติ อนัตตลักขณะปรากฏทางใจ 2. สตฺตสญฺญํ สมุคฺฆาเฏติ ละความเห็นว่าเป็นสัตว์ บุคคล ชาย หญิง เสียได้
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคอธิบายว่า การเจริญจตุธาตุววัตถานนี้ เมื่อพิจารณาธาตุทั้ง 4 ที่มีอยู่ในกายตนนั้น จะบรรลุได้เพียง “ อุปจารสมาธิŽ เท่านั้น เพราะธาตุทั้ง 4 นี้เป็นสภาวะ ล้วนๆ
...อ่านต่อ
คือ พิจารณาโกฏฐาสทั้งหลายเข้าเป็นหมู่ๆตามอาการของธาตุนั้นๆ โดยให้กำหนดเอาอาการแข้นแข็งในโกฏฐาส 20 ว่า ปฐวีธาตุ กำหนดเอาอาการซึมซาบอันเป็นความเหลวกล่าวคือเป็นน้ำในโกฏฐาส 12
...อ่านต่อ
การพิจารณาธาตุทั้ง 4 ที่มีในกายตนนี้ มี 2 ประการ คือ โดยย่อและโดยพิสดารใน 2 ประการนี้ ผู้ที่เป็นติกขบุคคล หรือมีปัญญาแก่กล้า ทำการพิจารณาเพียงแต่โดยย่อ ธาตุทั้ง 4
...อ่านต่อ
จตุธาตุววัตถาน หมายถึง การกำหนด หรือการวิเคราะห์ธาตุ 4 จตุธาตุววัตถาน เป็นการพิจารณาธาตุทั้ง 4 ที่ปรากฏในร่างกายจนกระทั่งเห็นเป็นแต่เพียงกองแห่งธาตุ โดยปราศจากความจำว่า เป็นหญิง ชาย เรา เขา สัตว์ บุคคล เสียได้ เรียกว่า “ จตุธาตุววัตถาน” ในจตุธาตุววัตถานนี้ ผู้เจริญจะต้องทำการพิจารณาธาตุ 4 ที่มีอยู่ภายในตน ธาตุ 4 ที่มีอยู่ภายในตนนี้ เมื่อนับโดยพิสดารแล้วมี 42 คือ ปฐวีธาตุ 20 อาโปธาตุ 12 เตโชธาตุ 4 วาโยธาตุ 6
...อ่านต่อ
กัมมัฏฐานนี้เป็นกัมมัฏฐานข้อสุดท้ายในอารมณ์กัมมัฏฐาน 40 ที่กล่าวไว้ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ในมหาสติปัฏฐานสูตรได้อธิบายไว้ว่า กัมมัฏฐานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาร่างกาย
...อ่านต่อ
1.ไม่ยินดีในรสอาหาร บริโภคเพียงเพื่อดำรงชีวิตอยู่ 2.ละกามคุณ 5 ได้ (กามคุณ 5 ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส) 3.เห็นความเกิดดับของรูปขันธ์ ความเกิดดับของรูปกายในคนที่เกิดจากอาหาร ความเกิดดับของจิตขณะบริโภคและหลังบริโภค
...อ่านต่อ
ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคอธิบายว่า เมื่อพิจารณาความเป็นปฏิกูลของอาหารจนจิตสงบ ตั้งมั่น จะบรรลุได้เพียง “ อุปจารสมาธิ”
...อ่านต่อ
การพิจารณาความเป็นปฏิกูลในอาหารที่เรารับประทานทุกมื้อนั้น มีวิธีการในการพิจารณาโดยให้พิจารณาความเป็นปฏิกูลโดยอาการ 10 อย่าง
...อ่านต่อ
คำว่า อาหาร หมายถึง สิ่งที่นำผลมาให้แก่ตน เป็นคำบ่งถึงการดำรงชีพของสัตว์ทั้งหลาย พระพุทธองค์ได้ทรงตรัสไว้ว่า “ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อาหาร4 อย่างเหล่านี้ เพื่อความตั้งอยู่แห่งเหล่าสัตว์ที่เกิดแล้วบ้าง เพื่อความอนุเคราะห์เหล่าสัตว์ที่แสวงหาภพที่เกิดบ้าง อาหาร 4 อย่าง เป็นไฉน อาหาร 4 อย่าง
...อ่านต่อ
ในการดำรงชีวิตอยู่รอดของคนเรานั้น การบริโภคอาหารถือเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ หล่อเลี้ยงชีวิตให้ดำรงอยู่ ผลของการบริโภคทำให้เกิดกิจกรรมต่างๆ ตามมาอีกมากมาย
...อ่านต่อ
การเจริญอรูปกัมมัฏฐานได้ ต้องเข้าถึงกายอรูปพรหมเสียก่อน แล้วอาศัยกายอรูปพรหม นั้นเจริญอรูปกัมมัฏฐานตามที่ได้กล่าวมา ทั้งรูปฌานและอรูปฌานที่อยู่ในกายต่างๆ ถ้าใช้กายมนุษย์ กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม เข้าฌาน เรียกว่า โลกียฌาน ผลที่ได้ คือ อภิญญา 5
...อ่านต่อ
อรูปฌานเหล่านี้ มีอยู่ 4 ระดับ โดยการล่วงอารมณ์แต่ละอย่าง ดังนี้คือ อรูปฌานที่ 1 โดยการก้าวล่วงรูปนิมิต อรูปฌานที่ 2 โดยก้าวล่วงอากาศ อรูปฌานที่ 3 โดยก้าวล่วงวิญญาณที่เป็นไปอยู่ในอากาศ อรูปฌานที่ 4 โดยก้าวล่วงความไม่มีแห่งวิญญาณที่เป็นไปอยู่ในอากาศ
...อ่านต่อ
อากิญจัญญายตนฌานลาภีบุคคล ผู้ที่ได้ฝึกฝนตนเองจนชำนิชำนาญในวสีภาวะทั้ง 5 แห่งอากิญจัญญายตนฌานโดยสมบูรณ์เป็นอย่างดีแล้ว จึงจะสามารถเจริญสมถภาวนา ให้ถึง เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ได้ต้องเริ่มเจริญโดยการพยายามพรากใจออกมาจาก
...อ่านต่อ
ผู้ต้องการเจริญสมถภาวนาเพื่อให้ได้ อากิญจัญญายตนฌาน จะต้องเป็นวิญญาณัญจายตนฌานลาภีบุคคล ผู้มีวสีในวิญญาณัญจายตนฌานนั้นจนชำนาญคล่องแคล่ว ทั้ง 5 ประการ
...อ่านต่อ
อากาสานัญจายตนฌานลาภีบุคคล ผู้มีวสีภาวะทั้ง 5 ในอากาสานัญจายตนฌาน คล่องแคล่วเป็นอย่างดีแล้ว จึงจะสามารถเจริญสมถภาวนาเพื่อให้ถึงวิญญาณัญจายตนฌานได้
...อ่านต่อ
ผู้ต้องการถึงอากาสานัญจายตนฌานต้องกระทำอากาสบัญญัติที่ได้มาจากการเพิกกสิณทั้ง 9 (เว้นอากาสกสิณ) ให้เป็นอารมณ์อากาสบัญญัติที่ได้มาจากการเพิกกสิณแล้วนั้นมีชื่อว่า กสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ
...อ่านต่อ
ผู้ปฏิบัติเมื่อเห็นโทษในรูปว่า รูปนี้ถูกโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาท จับศัสตราอยู่แย่งชิงกันอยู่ จึงเกิดความเบื่อหน่าย บำเพ็ญฌานด้วยอำนาจกสิณทั้ง 9
...อ่านต่อ
อรูปกัมมัฏฐาน หมายถึง การเอาอารมณ์ที่ไม่ใช่รูปฌานเป็นที่ตั้งแห่งการงานทางใจ ที่เจาะจงเอาอารมณ์ที่ไม่ใช่รูปฌาน เพราะเห็นว่าฌานที่ต้องอาศัยรูปเป็นอารมณ์นั้นหยาบกว่า ฌานที่ไม่ใช้รูปเป็นอารมณ์
...อ่านต่อ
อรูปกัมมัฏฐานเป็นการเจริญสมาธิขั้นสูงสุดของสมถะ ซึ่งเป็นขั้นตอนที่เกิดต่อจากการบรรลุฌาน 4 ส่งผลให้ได้อรูปฌาน ซึ่งวิธีการฝึกสมาธิจนกระทั่งบรรลุอรูปฌานนี้
...อ่านต่อ
ผู้เจริญอุเบกขาแท้จริงได้นั้น จะต้องเข้าถึงกายรูปพรหมเป็นอย่างน้อย แล้วเจริญให้ถึงปัญจมฌาน อันประกอบด้วย อุเบกขาและเอกัคคตาแผ่ออกไป
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล