นิทานชาดกทั้งหมด นิทานพร้อมภาพสวยๆ นิทานชาดกและคติสอนใจ อ่านนิทานชาดกพร้อมรูปภาพประกอบ นิทานชาดกที่คัดแต่เรื่องดีๆ
อ่านแล้วสนุกและให้สาระคติสอนใจได้เป็นอย่างดี รวบรวมไว้ที่นี่ให้คุณได้อ่านกันแบบ

  พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภราโชวาทสูตร จึงตรัสเรื่องนี้   ก็ในครั้งนั้น พระศาสดา อันพระเจ้าปเสนทิโกศลทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว จึงได้ทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ ...อ่านต่อ
พระบรมศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภมิตรของท่านอนาถบิณฑิกะผู้หนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้  มิตรผู้นั้นได้เคยเป็นสหายร่วมเล่นกันมากับท่านอนาถบิณฑิกะ ทั้งเรียนศิลปะในสำนักอาจารย์เดียวกัน โดยนามมีชื่อว่า กาฬกรรณี.   ...อ่านต่อ
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุขลาดรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ภิกษุนั้นเป็นกุลบุตรชาวพระนครสาวัตถีผู้หนึ่ง ฟังธรรมของพระศาสดาแล้วบรรพชา...อ่านต่อ
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้กระสันแล้วรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนานี้  ได้ยินว่า กุลบุตรผู้หนึ่งบวชถวายชีวิตในพระพุทธศาสนา วันหนึ่ง เที่ยวบิณฑบาตในพระนครสาวัตถี เห็นหญิงนางหนึ่งแต่งกายหมดจดงดงาม...อ่านต่อ
ได้ยินว่า ภิกษุ ๔ รูปเข้าไปเฝ้าพระตถาคตทูลขอกรรมฐาน พระศาสดาทรงบอกกรรมฐานแก่ภิกษุเหล่านั้น ภิกษุเหล่านั้นเรียนกรรมฐาน ไปสู่ที่พัก   ในภิกษุเหล่านั้น  ภิกษุรูปหนึ่งกำหนดผัสสายตนะ ๖ บรรลุพระอรหัตแล้ว ...อ่านต่อ
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี มีดาบสรูปหนึ่งได้อภิญญา ๕ มีตบะกล้า อาศัยปัจจันตคามตำบลหนึ่ง อยู่ ณ บรรณศาลาชายป่า พวกชาวบ้านช่วยกันบำรุงพระดาบสด้วยความเคารพ  ...อ่านต่อ
อุบาสกนั้นเป็นโสดาบันเดินทางกับกองเกวียนขบวนหนึ่ง ขณะพักแรมกลางป่า เขาได้เดินจงกรมสงบจิตใต้ต้นไม้ใหญ่ ขณะนั้นพวกโจรราว 500 คน วางแผนจะโจมตีกองเกวียน แต่เมื่อเห็นอุบาสกที่กำลังเดินจงกรม คิดว่าเป็นยามเฝ้าและรอให้หลับก่อนค่อยบุก...อ่านต่อ
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ได้กล่าวถึงเรื่องราวการสรรเสริญปัญญาเริ่มจากคาถาว่า “นายํ ฆรานํ กุสโล” ซึ่งสะท้อนถึงความล้ำลึกในปัญญาของพระองค์...อ่านต่อ
ย้อนกลับไปในครั้งนั้น เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติที่กรุงพาราณสี พระอัครมเหสีทรงครรภ์และได้รับการดูแลอย่างดี จนกระทั่งวันคลอดพระโอรสในยามใกล้รุ่ง แต่ในเวลานั้นก็มีนางยักษิณีที่หวังจะกินทารก ด้วยความอาฆาตแค้นตั้งแต่ชาติที่แล้ว...อ่านต่อ
 ย้อนกลับไปในอดีต ณ เมืองพาราณสี มีพระราชา "เอสุการี" ซึ่งมีพราหมณ์ปุโรหิตเป็นสหายตั้งแต่วัยเยาว์ ทั้งสองแม้จะมีอำนาจและบารมี แต่กลับไม่มีโอรสสืบสกุล วันหนึ่งเมื่อพวกเขากำลังสนทนาในช่วงเวลาที่ผ่อนคลาย ทั้งสองตกลงกันว่าหากใครมีลูกก่อน ลูกคนนั้นจะได้ครอบครองราชสมบัติของอีกฝ่าย!...อ่านต่อ
ในเวลาเดียวกัน ที่กรุงพาราณสี ประชาชนทนทุกข์ยากจากภัยแล้งที่ยาวนาน ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลมานาน ท้องนาทั้งหลายกลายเป็นผืนดินแห้งแล้ง ผู้คนและสัตว์ต่างล้มตายจากความหิวโหย จนชาวบ้านทนไม่ไหว พากันมุ่งหน้าไปยังพระราชวังเพื่อร้องทุกข์...อ่านต่อ
ย้อนไปในอดีตกาลนานมา ณ ป่าหิมพานต์อันกว้างใหญ่ ในกาลนั้นพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็น พญาช้างพราย สูงใหญ่งามสง่า ดูน่าเกรงขามยิ่งนัก โพธิสัตว์พญาช้างเป็นจ่าโขลง...อ่านต่อ
เจ้าช้างเกเรเดินจากไป ไม่แยแสต่อความปวดร้าว เฉกเช่นสตรีเพศ ไม่ว่าคนหรือสัตว์ก็ย่อมรักลูกตนเป็นธรรมดา จิตใจของนางนกไส้แตกสลาย...อ่านต่อ
 ในฤดูฝน แถบชายแดนของพระเจ้ากรุงโกศลเกิดกบฏ ทหารสู้รบถึงสองสามครั้ง ก็ไม่สามารถเอาชนะข้าศึกได้สักที จึงส่งข่าวทูลถวายพระราชาให้ทรงทราบ...อ่านต่อ
ณ พระวิหารเชตวัน พระตถาคตทรงเอ่ยถึงพระภิกษุเหลาะแหละรูปหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้ว่า ภิกษุรูปนั้นเป็นผู้เหลาะแหละ ละเลยการประพฤประติบัติที่ดี...อ่านต่อ
   "ในอดีตหม่อมฉันเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าอุเทน พระองค์ทรงดูแลเป็นอย่างดี แต่เมื่อเวลาผ่านไปแก่ชราลงไม่สามารถช่วยงานได้ พระองค์ทรงงดการดูแลหมดทุกอย่าง จนตอนนี้ไม่มีที่พึ่ง...อ่านต่อ
 เหตุการณ์เช่นนี้ยังคงดำเนินต่อไปเรื่อยๆ จนผู้เป็นภรรยา อดคิดไม่ได้ว่า "สามีของเราได้อะไรมา ไม่เคยให้พ่อเลย สงสัยเขาคงไม่ค่อยถูกกับบิดาแน่ เราจะใช้อุบายนี้ทำให้เกลียดสามีเกลียดเรา แล้วไล่ออกจากบ้านซ้ะ"...อ่านต่อ
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นบุตรของพราหมณ์ผู้มีสมบัติมาดถึง ๘๐ โกฏิ  โดยมีชื่อว่า มหากาญจนกุมาร เป็นบุตรชายคนโต เมื่อเด็กชายเริ่มเดินได้พ่อกันแม่ได้ให้กำเนิดลูกชายอีกคนหนึ่ง...อ่านต่อ
ณ โรงธรรมสภา มีกลุ่มภิกษุกำลังนั่งจับกลุ่มสรรเสริญ พระปัญญาบารมีของพระตถาคตว่า ดูก่อนอาวุโสทั้งหลาย พระตถาคตเป็นผู้มีพระปัญญาใหญ่ มีพระปัญญากว้างขวาง มีพระปัญญาร่าเริง มีพระปัญญาลึกซึ่ง มีพระปัญญาดุจแผ่นดิน มีพระปัญญาแหลม มีพระปัญญาว่องไว  ขณะเดียวกัน พระศาสดาเสด็จผ่านมาพอดี จึงเอ่ยถามขึ้นว่า...อ่านต่อ
ขณะนั้น เศรษฐีไปเฝ้าพระราชาแล้ว ด้านคนดูแลบ้านก็ไม่เห็นพระโพธิสัตว์เช่นกัน เวลาผ่านไประยะหนึ่งพระโพธิสัตว์จึงได้กลับไป ขณะนั้นท่านเศรษฐีนั้นกำลังออกจากราชสกุล ได้เห็นพระโพธิสัตว์ จึงไหว้แล้วรับเอาภาชนะภิกษานำไปเรือน...อ่านต่อ
"พระองค์ทรงปล่อยลูกศรไม่ออกหรือ ขอพระองค์จงทรงปล่อยเถิด" "เราไม่สามารถปล่อยออกไปได้" "ถ้าเช่นนั้น พระองค์ก็ทรงรู้คุณธรรมของผู้มีคุณธรรม" ขณะนั้นพระราชาทรงเลื่อมใสพระโพธิสัตว์ ทรงทิ้งธนู...อ่านต่อ
ณ เชตวันมหาวิหารภิกษุผู้ออกบวชต่างปฏิบัติกิจสงฆ์และยึดมั่นในพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัดแต่มีภิกษุรูปหนึ่งปฏิบัติตนต่างจากภิกษุ รูปอื่น ๆ...อ่านต่อ
ในสมัยหนึ่งคฤหัสถ์ผู้เป็นสหายกับชาวกรุงสาวัตถีประมาณ ๕๐๐ คน ฟังพระธรรมเทศนาของพระตถาคตแล้วเกิดความเลื่อมใส...อ่านต่อ
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันทรงปรารภพระลกุณฏกภัททิยะเถระ...อ่านต่อ
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้ถือกำเนิดในตระกูลช่างเหล็กที่ยากจนในแคว้นกาสี...อ่านต่อ
พระราชานั้นทรงทราบว่าเป็นสถานที่อยู่ของดาบส จึงเสด็จลงจากคอช้าง ทรงเหน็ดเหนื่อยเพราะลมและแดด จึงทรงกระหายน้ำ ทอดพระเนตรหาหม้อน้ำก็ไม่ทรงเห็นในที่ไหน แต่ได้ทรงเห็นบ่อน้ำอยู่ในท้ายที่จงกรม...อ่านต่อ
นเวลาต่อมา คนดูแลโรงทานได้มาแจ้งกับ เศรษฐีนายนี้ว่า "บรรดาวัตถุดิบต่างๆนั้นหายไปหมด เลยไม่สามารถทำอาหารแจกได้ ถ้าอย่างนั้น พวกท่านนำทรัพย์ที่เก็บเอาไว้ใช้จ่ายได้เลย พยายามอย่าให้คนที่เดือดร้อน เค้าลำบากเลย" "น้องหญิงๆ มาหาพี่หน่อยได้ไหม"...อ่านต่อ
"เฮ้ย เกิดอะไรขึ้น" แต่ไม่มีเวลาให้คิดมากเท่าไหร่นัก ด้วยอารามตกใจ เจ้าหมีก็ลุกขึ้นวิ่งหนีออกไปอย่างรวดเร็วออกไปจากบริเวณ เมื่อเวลาผ่านไปชั่วครู่ หมีตัวเดิมก็กลับมายังโคนต้นไม้อีกครั้งแล้วเริ่มสำรวจว่าเกิดอะไรขึ้น...อ่านต่อ
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ในกาลครั้งหนึ่งพระเจ้าโกศลทรงมัวเมา ด้วยพระราชอิสริยยศ...อ่านต่อ
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นโอรสของพระเจ้าพาราณสี...อ่านต่อ

ความหมายของชาดก

ในความหมาย คือเล่าถึงการที่พระโพธิสัตว์เวียนว่ายตายเกิด ถือเอากำเนิดในชาติต่าง ๆ ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้าง แต่ก็ได้พยายามทำความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่ง จะถือว่า เรื่องชาดก เป็นวิวัฒนาการแห่งการบำเพ็ญคุณงามความดีของพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ ในอรรถกถาแสดงด้วยว่า ผู้นั้นผู้นี้กลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้า แต่ในบาลีพระไตรปิฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่อง เพราะฉะนั้น สาระสำคัญจึงอยู่ที่คุณงามความดีและอยู่ที่คติธรรมในนิทานนั้น ๆ

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล