นิทาน ชาดก 500ชาติ

ชาดก 500ชาติ

นิทานชาดกทั้งหมด นิทานพร้อมภาพสวยๆ นิทานชาดกและคติสอนใจ อ่านนิทานชาดกพร้อมรูปภาพประกอบ นิทานชาดกที่คัดแต่เรื่องดีๆ
อ่านแล้วสนุกและให้สาระคติสอนใจได้เป็นอย่างดี รวบรวมไว้ที่นี่ให้คุณได้อ่านกันแบบ

ในอดีตกาล สมัยพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี  มีชายผู้หนึ่งตัดสินใจออกบวช เป็นฤๅษีในป่าหิมวันตะเที่ยวหาผลหมากรากไม้ กินเป็นอาหาร  จนวันหนึ่งดาบสผู้นี้ได้ไปเจอ กับแม่เนื้อทรายที่นอนตายอยู่กลางป่า ...อ่านต่อ
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันมหาวิหาร ทรงปรารภพระเทวทัต ...อ่านต่อ
พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ เวฬุวันมหาวิหารได้ทรงทราบข้อสนทนาของภิกษุสงฆ์ซึ่งประชุมกันในธรรมสภา ...อ่านต่อ
กาลครั้งนั้นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับอยู่ยังวัดนิโครธารามกรุงกบิลพัสดุ์ทรงสดับเหตุร้ายอันบังเกิดขึ้น ณ ชายแดน ...อ่านต่อ
 จากนั้นปริพาชก จึงกล่าวว่า “ดูก่อนท่านอำมาตย์ ท่านน่าจะรู้ถึงความผิดของคำพูดตัวเองนะ แล้วเหตุใดถึงพูดติเตียนเราเช่นนี้” "ท่านอิสรกรณวาที เข้ามาใกล้ข้าหน่อย"  ...อ่านต่อ
"ดูก่อนภิกษุ ธรรมดาสมณะเมื่อมีที่พักสบายแล้ว ก็ควรละความโลภจากอาหารเสีย ยินดีฉันตามที่ได้มานั่นแหละ ในอดีตแม้เกิดเป็นสัตว์ดิรัจฉานเคี้ยวผงแห้งในต้นไม้ที่ตนอยู่อาศัย ...อ่านต่อ
 ณ กรุงสาวัตถี มีลิงตัวหนึ่งชอบเข้าไปในโรงเลี้ยงช้างเป็นประจำ มักจะนั่งบนหลัง และถ่ายอุจจาระปัสสาวะเป็นประจำ ...อ่านต่อ
ในสมัยพุทธกาลได้มีชายหนุ่มคู่หนึ่งซึ่งเป็นเพื่อนรักกัน ทั้งสองสนิทสนมและมักจะไปไหนมาไหนด้วยกันตลอดจนเป็นที่รู้กันทั่วทั้งเมืองถึงความสนิทสนมของสหายรักคู่นี้ ...อ่านต่อ
 ในวันรุ่งขึ้นหลังฉันภัตตาหารเรียบร้อยแล้ว ทรงพาภิกษุสองถึงสามรูปเดินทางตรงไปยังเรือนของเศรษฐีผู้นั้น ณ เรือนท่านเศรษฐี "มีใครอยู่ในเรือนนี้ไหม พระศาสดาทรงมาโปรด" ภิกษุผู้ติดตามเอ่ย ผ่านไปไม่นานก็มีเสียงตอบกลับมาว่า "มีพะย่ะข้า" ...อ่านต่อ
"เมื่อพระเทวทัตจมลงในแผ่นดิน ชาวบ้านต่างก็ดีใจ ผู้เป็นเสี้ยนหนามถูกแผ่นดินสูบ" ครั้นพระศาสดาเสด็จผ่านมาได้ตรัสถาม "ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไร" ...อ่านต่อ
เมื่อพวกอำมาตย์เหล่านั้นกราบทูลอยู่บ่อยๆ พระราชาก็ทรงเชื่อ  สั่งให่อำมาตย์ ฆ่าภรรยาของตนซ้ะ  ข่าวพระเทวีถูกปลงพระชนม์ เลื่องลือไปทั่วพระนครจนไปเข้าหูของพระโอรสทั้งสี่ จึงโกรธแค้นพ่อของตน พระโพธิสัตว์ได้ทราบเรื่องราวทั้งหมด จึงอยากจะช่วยไม่ให้พระกุมารกระทำเช่นนี้ ...อ่านต่อ
ครั้งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงปักธงชัยขึ้นในชมพูทวีป พระอริยสัตว์อันกระจ่างจริงพิสูจน์ได้มีผลชัด ...อ่านต่อ
 ณ พุทธกาลหนึ่งในสาวัตถีมหานครพระเชตวันอันสงบร่มเย็นมีอันต้องวุ่นวาย พระสงฆ์สาวกต่างรุ่มร้อนใจไม่เป็นปกติ ...อ่านต่อ
 จากนั้นพระเจ้าพรหมทัตทรงมอบสมบัติแก่บรรดาเหล่าอำมาตย์ทั้งหลาย แล้วปลอมตัวเป็นชาวบ้านออกเดินทางไปกับท่านปุโรหิต ขณะนั้นทั้งสองเดินออกจากประตูเมืองไม่ไกลเท่าไหร่นัก ท่านปุโรหิตได้เอ่ยถามขึ้น "ทรงนั่งพักตรงศาลานี้ก่อนไหมพะย่ะข้า" ...อ่านต่อ
จนกระทั่งวันหนึ่งท่านเศรษฐีผู้นี้เดินทางมายังพระวิหาร พร้อมกับกราบทูลเรื่องของหลานชายทั้งหมด ให้พระตถาคตเจ้าทรงทราบ "เมื่อก่อนหลานของท่านนั้น แม้ให้หม้อสารพัดนึก ก็ยังไม่สามารถทำบุคคลใดให้อิ่มหนำได้ ท่านจะทำบุคคลนั้นให้อิ่มหนำอย่างไร" ...อ่านต่อ
"อย่าไปถือสาเลยท่าน" พระภิกษุอีกรูปเอ่ยขึ้น "ท่านมักเป็นเช่นนั้นเสมอ ชอบพาลใส่คนอื่นเป็นประจำ ไม่ใช่แค่ท่านเท่านั้น เราและเพื่อนก็เจอเช่นกัน" "อย่างนั้นหรือ" "ใช่ ปล่อยวางเถิด หวังว่าศาสนาจะช่วยให้ใจเย็นลงได้" ...อ่านต่อ
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ได้ถือกำเนิดขึ้นเกิดในตระกูลเศรษฐี เมื่อเติบโตขึ้นจึงได้รับช่วงมรดก ระหว่างนั้นพระโพธิสัตว์ เมื่อคิดได้ดังนั้นจึงเริ่มต้นบริจาค สร้างโรงทานขึ้นมาเพื่อให้คนยากคนจน นอกจากนั้นได้สั่งสอนลูกของตน ให้เผื่อแผ่แก่คนที่ยากไร้ ...อ่านต่อ
 ในอดีตกาล สมัยพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี มีอำมาตย์ท่านหนึ่งทำหน้าที่ผู้สอนอรรถและธรรมแก่พระเจ้าพาราณสี ...อ่านต่อ
เช้าวันหนึ่งที่ท้องฟ้าสดใสท่ามกลางแสงแดดสีทองอมส้ม ถูกประดับด้วย เมฆสีขาว ลอยละล่องภายใต้สายลมพัดโบกไปมา ณ โรงธรรม มีกลุ่มภิกษุสงฆ์สองถึงสามรูปกำลังนั่งพูดคุยเรื่องที่ตนเผอิญได้ยินมา "วันนี้ตอนออกบิณฑบาต มีนักบวชนอกรีตคนหนึ่งนินทาพระตถาคตเข้า" "เรื่องไรหรือ? ข้านั้นก็ไม่เคยเห็นพระศาสดาทรงมีพฤติกรรมเสื่อมเสียแม้แต่น้อย ...อ่านต่อ
เช้าวันหนึ่ง ณ ธรรมสภา มีภิกษุกลุ่มหนึ่งกำลังนั่งจับกลุ่มสนทนากัน "เมื่อหลายวันก่อนพระเจ้าลิจฉวีมาทำบุญที่พระมหาเชตวันพระองค์ทรงพาภรรยามาด้วย เรานั้นเห็นครั้งแรกรู้สึกแปลกใจนิดหน่อย" ...อ่านต่อ
"ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราพูดในเวลาจามได้ไหม" "ไม่ได้ พระพุทธเจ้าข้า" พระศาสดาตรัสต่อไปว่า "เธอไม่ควรกล่าวในเวลาเขาจาม เเต่ให้เอ่ยว่า ขอให้ท่านเป็นอยู่เถิด ผู้ใดกล่าว ผู้นั้นต้องอาบัติทุกกฏ" ...อ่านต่อ
ครั้งนั้นเมื่อสมเด็จพระพุทธศาสดาประทับยังป่าไผ่ในพระวิหารชื่อว่าเวฬุวัน กาลเวลานั้นภิกษุสงฆ์ทั้งปวงต่างวิพากษ์วิจารณ์พฤติกรรมไม่ดีของพระเทวทัต ...อ่านต่อ
ในพุทธกาลสมัย ครั้นเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์พระบรมศาสดาแห่งพระพุทธศาสนาเผยแพร่พระธรรมคำสอนขจรขจายไกล ...อ่านต่อ
ช้าของวันเดียวกัน พระเจ้าพรหมทัตเดินเข้ามาห้องส่วนพระองค์ แต่ไม่เห็นวี่แววของภรรยาตนแม้แต่น้อย พระราชามองไปยังบ่าวรับใช้ ก่อนเอ่ยถาม "พระมเหสีอยู่ไหนล่ะ" "เอ่อ......" สาวรับใช้ทำท่าอึกอัก "มีอะไรจะพูดกับข้าหรือ" ...อ่านต่อ
   วันหนึ่งขณะที่ท่านอำมาตย์ให้การถวายการเรียนการสอนอยู่นั้น พระโอรสทรงเหม่อมองไปยังท้องฟ้าสีสดผ่านหน้าต่างบาน ...อ่านต่อ
เช้าวันต่อมา พระเถระเปิดประตู มาพบเข้ากับชายคนหนึ่ง จึงเอ่ยถามขึ้น "ท่านเป็นใครมานอนอยู่ที่นี่ได้" "เอ่อ....พอดีข้าพเจ้านั้นหนีคูกรณีมาขอรับ" "พระคุณเจ้าช่วยกระผมด้วย" ...อ่านต่อ
  ณ กรุงสาวัตถี มีพ่อค้าผู้มั่งคั่งคนหนึ่ง ได้ทำการค้าขายกับพ่อค้าต่างเมือง ย่านชนบทวันหนึ่ง พ่อค้าและภรรยาเดินทาง ...อ่านต่อ
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในกรุงพาราณสี มีเด็กชายคนหนึ่งเกิดขึ้นในตระกูลปุโรหิต เมื่อเติบใหญ่จึงได้เข้าเรียนศาสตร์ต่างๆในเมืองตักกสิลา ...อ่านต่อ
  ในอดีต เมืองพาราณสีมีกษัตริย์ อยู่พระองค์หนึ่งซึ่งได้รับขนานนามว่าวเป็นกษัตริย์ เพียบพร้อมไปด้วยความสามารถ พระปรีชา และบารมี เป็นที่กล่าวขานของชาวเมืองพาราณสี ...อ่านต่อ
  ในอดีตกาล ช่วงสมัยของพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระองค์ทรงแต่งงานกับหญิงสาว ...อ่านต่อ

ความหมายของชาดก

ในความหมาย คือเล่าถึงการที่พระโพธิสัตว์เวียนว่ายตายเกิด ถือเอากำเนิดในชาติต่าง ๆ ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้าง แต่ก็ได้พยายามทำความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่ง จะถือว่า เรื่องชาดก เป็นวิวัฒนาการแห่งการบำเพ็ญคุณงามความดีของพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ ในอรรถกถาแสดงด้วยว่า ผู้นั้นผู้นี้กลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้า แต่ในบาลีพระไตรปิฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่อง เพราะฉะนั้น สาระสำคัญจึงอยู่ที่คุณงามความดีและอยู่ที่คติธรรมในนิทานนั้น ๆ

 ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล