ตามธรรมดาเมื่อมีการฝึกงาน ย่อมต้องมีสถานที่และอุปกรณ์สำหรับใช้ในการฝึกงานนั้นๆ ในทำนองเดียวกัน การฝึกคุณธรรมพื้นฐาน ๓ ประการ
...อ่านต่อ
เป้าหมายอันสูงสุดของมนุษยชาติ คือ “การทำพระนิพพานให้แจ้ง” ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ต่างตรัสยืนยันเอาไว้ว่า เป็นสุขอย่างยิ่ง ในด้านการปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพานนั้นจะต้องปฏิบัติตามหลักอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ
...อ่านต่อ
เป็นพระสูตรที่เป็นการถามตอบปัญหาระหว่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้ากับอาฬวกยักษ์ ในเขตเมืองอาฬวี ประเทศอินเดียภายหลังจบพระธรรมเทศนา อาฬวกยักษ์ได้บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน 
...อ่านต่อ
ธรรมในที่นี้ หมายเอา เทศนาธรรม อันได้แก่ธรรมที่พระองค์ทรงเทศน์มาตลอด ๔๕ พรรษา ซึ่งมีรูปแบบที่แตกต่างกันไปตามโอกาสที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะทรงแสดงแก่ผู้ฟัง
...อ่านต่อ
 เป็นพระสูตรที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสอนพระภิกษุ ถึงวิธีการศึกษาธรรมะและการนำมาปฏิบัติเพื่อฝึกฝนอบรมตนเอง และเพื่อเป็นกัลยาณมิตรให้แก่ชาวโลก โดยทรงบอกวิธีการไว้ ๗ ขั้นตอนด้วยกันคือ
...อ่านต่อ
บารมี ๑๐ ทัศ หรือนิสัยที่ดีทั้ง ๑๐ ประการ อันได้แก่ นิสัยรักการให้, นิสัยรักศีลยิ่งชีวิต, หลีกออกจากกาม, รักในการแสวงหาความรู้ รักการปรับปรุงแก้ไขตนเอง
...อ่านต่อ
 บารมีอันดับสุดท้ายที่สุเมธดาบสบรมโพธิสัตว์ตรวจดูด้วยญาณทัสสนะอันเป็นทิพย์ พบว่าอุเบกขาบารมีนี้เป็นสิ่งที่จะต้องกระทำอย่างยิ่งยวด เพราะเล็งเห็นถึงอุปสรรคสำคัญที่จะมาเป็นกำแพงขวางกั้นหนทางการบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ
...อ่านต่อ
บารมีอันดับต่อมาที่ท่านสุเมธดาบสบรมโพธิสัตว์ตรวจดูด้วยญาณทัสสนะอันเป็นทิพย์พบว่ามีที่ต้องบำเพ็ญให้ยิ่งขึ้นไปอีก คือเมตตาบารมี
...อ่านต่อ
บารมีอันดับต่อมาที่สุเมธดาบสบรมโพธิสัตว์ได้ตรวจดูด้วยญาณทัสสนะอันเป็นทิพย์ ก็พบว่า อุปสรรคสำคัญอีกประการหนึ่งที่เป็นเครื่องขัดขวางการบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ นั่นคือการลดเป้าหมายที่จะสร้างความดี
...อ่านต่อ
 บารมีอันดับที่แล้วชื่อว่า ขันติบารมี เป็นเรื่องของความอดทนอดกลั้นต่ออุปสรรคนานัปการทั้งที่เกิดขึ้นจากการได้รับความชื่นชมสรรเสริญหรือการดูหมิ่นไม่พอใจ
...อ่านต่อ
หลังจากที่เราได้ศึกษาทั้ง ๕ บารมีมาแล้ว หากพิจารณาให้ดีเราจะทราบว่า ๕ บารมีแรกนั้น ล้วนเป็นการบำเพ็ญเพื่อให้ได้มาซึ่งปัญญาทั้งสิ้น
...อ่านต่อ
วิริยบารมี เป็นบารมีประการที่ ๕ ต่อจากปัญญาบารมี เราได้ทราบแล้วว่าปัญญาบารมีนั้น มุ่งไปที่การแสวงหาความรู้ยิ่งเห็นจริงจากครูบาอาจารย์ต่างๆ ทั้งที่เป็นบัณฑิต นักปราชญ์ และผู้รู้ทั้งหลาย
...อ่านต่อ
ปัญญาบารมี เป็นพุทธการกธรรมประการที่ ๔ ที่พระโพธิสัตว์ทุกพระองค์จะต้องบำเพ็ญให้บริบูรณ์ จึงจะบรรลุพระโพธิญาณได้
...อ่านต่อ
เนกขัมมบารมี คือ การออกบวช เป็นบารมีอันดับที่ ๓ ที่สุเมธดาบสบรมโพธิสัตว์ได้ตรวจดูด้วยญาณทัสสนะเป็นทิพย์ พบว่าไม่เพียงเเต่ความตระหนี่ ความหยาบคาย
...อ่านต่อ
ศีลเป็นที่ตั้งของคุณธรรมเบื้องสูง ความรู้จักควบคุมกาย วาจา ใจ ของตนให้อยู่ในกรอบของศีล จัดเป็นคุณธรรมพื้นฐาน
...อ่านต่อ
กล่าวโดยสรุปมี ๓ ประเภท คือ ๒.๑) ศีล ๕ (เบญจศีล, นิจศีล, จุลศีล)เป็นศีลพื้นฐานอันสำคัญยิ่ง เพราะการที่เราจะรักษาความเป็นปกติของมนุษย์เอาไว้ได้
...อ่านต่อ
ศีล จึงเป็นคุณธรรมที่ทำให้เข้าถึงความเป็นยอดคน เป็นบุคคลผู้สมบูรณ์แบบ มีความเป็นปกติ เป็นผู้ที่เย็นกาย เย็นใจ และมีชีวิตที่ปลอดโปร่ง ปลอดภัยอยู่เสมอ
...อ่านต่อ
ศีลบารมี เป็นพุทธการกธรรมข้อที่ ๒ ที่พระโพธิสัตว์ทุกพระองค์จะต้องบำเพ็ญให้บริบูรณ์จึงจะถึงฝั่งแห่งพระโพธิญาณ
...อ่านต่อ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสถึงอานิสงส์ของการให้ทานไว้ใน "ทานานิสังสสูตร" ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์แห่งการให้ทาน ๕ ประการนี้ คือ
...อ่านต่อ
อสัปปุริสทาน คือ ทานของอสัตบุรุษ (อสัตบุรุษ คือ คนไม่ดี ไม่ฉลาดในการดำเนินชีวิต)
...อ่านต่อ
องค์ของการให้ หรือเรียกว่า ทานสมบัติ ที่จะทำให้ทานนั้นได้บุญมาก ผูไห้จะต้องทำให้ครบด้วยองค์ทั้ง ๓ คือ
...อ่านต่อ

สิ่งดีๆมีไว้แบ่งปัน อะไรดีๆมีอีกเยอะ กด Like facebook กัลยาณมิตร


ยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคล